1. ชื่อหน่วยวิจัย

แมลงเศรษฐกิจ

Economic Insects Unit

ภาควิชา : ชีววิทยา

2. สมาชิก : ประกอบด้วย

( 1 ) นายไพฑูรย์ เล็กสวัสดิ์

ผู้ประสานงานหน่วยวิจัย

( 2 ) นายปริทรรศน์ ไตรสนธิ

สมาชิก

3. หลักการและเหตุผล

แมลงเศรษฐกิจ หมายถึง แมลงที่อาจก่อประโยชน์และให้โทษแก่มนุษย์ การมุ่งศึกษาแมลงกลุ่มนี้ทำให้ได้ทราบถึงรายละเอียดของแมลงซึ่งใช้เป็นตัวอย่างในการเรียนการสอนและการวิจัยของนักศึกษาระดับปริญญาตรีและบัณฑิตศึกษา ผลการวิจัยยังนำไปใช้ในการแนะนำเกษตรกร ถ้าเป็นศัตรูพืชเพื่อการป้องกันและกำจัด ถ้าเป็นแมลงที่เป็นประโยชน์ก็ส่งเสริมให้มีมากขึ้นเพราะอาจใช้ในการกำจัดแมลงศัตรูของเรา เช่น แมลงห้ำ แมลงเบียน บางชนิดอาจเป็นแมลงที่ใช้เป็นาหาร การหาวิธีเพาะเลี้ยงก็จะเป็นประโยชน์ในทางเศรษฐกิจ บางชนิดก็ให้ความสวยงามเป็นการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติอีกประการหนึ่ง เช่น ผีเสื้อ แมลงปอ นอกจากนี้ยังมีแมลงอื่น ๆ ซึ่งจัดอยู่ในประเภทกลางคือไม่ได้เป็นโทษต่อมนุษย์ แต่มีบทบาทในระบบนิเวศน์ที่เกี่ยวข้องกับมนุษย์

4. วัตถุประสงค์และเป้าหมาย

1. ศึกษาวิจัยแมลงที่น่าสนใจโดยเฉพาะในภาคเหนือ เช่น insects diversity เพื่อประโยชน์ใน การเรียนการสอน

2. ศึกษารายละเอียดของแมลงศัตรูพืชในภาคเหนือ เช่น แมลงศัตรูไม้ผล ที่เป็นผลผลิตสำคัญของภาคเหนือ ได้แก่ ลำไย ลิ้นจี่ มะม่วง พืชไร่ เช่น ถั่วเหลือง

3. ศึกษาหาแนวทางเพาะเลี้ยงแมลงที่อาจทำเป็นสินค้าได้ เช่น ผีเสื้อ แมลงที่จะมีส่วนในการช่วยป้องกันกำจัดแมลงศัตรูของคนโดยชีววิธี (biological control) ซึ่งเป็นวิธีถาวร เป็นธรรมชาติกว่าวิธีอื่น

5. อุปกรณ์ / เครื่องมือวิจัยหลักที่มีอยู่แล้ว

ได้แก่ อุปกรณ์ในการเดินทาง การจับและเลี้ยงแมลง

6. งานวิจัยที่ได้ดำเนินการในปีที่ผ่านมา

1.ไพฑูรย์ เล็กสวัสดิ์ และสุธรรม อารีกุล. 2518. การทดลองเลี้ยงแตนเบียนไตรโคแกรมมาออสตราลิคัม. วารสารสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ 7(1-4) : 31-59

2. ไพฑูรย์ เล็กสวัสดิ์ และสกุล มูลแดง. 2522. การศึกษาลักษณะทางสัณฐานวิทยาภายนอกและอวัยวะสืบพันธุ์ของต่อสน. วารสารคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 6(2) : 31-49

3. ไพฑูรย์ เล็กสวัสดิ์ และสกุล มูลแดง. 2522. การศึกษาชีวประวัติและการทำลายของต่อสน. วารสารคณะวิทยาศาสตร์การเกษตร 12(3) : 291-301

4. ไพฑูรย์ เล็กสวัสดิ์ และสกุล 2523. การศึกษาการศึกษาต่อสนตอนที่ 2 การสำรวจและความสัมพันธ์ระหว่างต่อสนกับแมลงเบียน. วารสารคณะวิทยาศาสตร์ 7(1) : 42-58

5. ไพฑูรย์ เล็กสวัสดิ์ และชินวัตร โกมลวานิช. 2523. สัณฐานวิทยาของแมลงวันเหาวัว. วารสารคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 7(2) : 1-9

6. ไพฑูรย์ เล็กสวัสดิ์ และชินวัตร โกมลวานิช. 2524. ชีวประวัติของแมลงวันเหาวัว. วารสารคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 35(2) : 155-161

7. ไพฑูรย์ เล็กสวัสดิ์ และประดิษฐ์ เหล่าเนตร. 2526. การศึกษาต่อสนตอนที่ 3. วารสารคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 10(2) : 18-39

8. ประนอม แก้วระคน และไพฑูรย์ เล็กสวัสดิ์. 2527. ชีวประวัติของผีเสื้อมวนหวาน. วารสารวิทยาศาสตร์การเกษตร 17(1) : 3-17

9. ไพฑูรย์ เล็กสวัสดิ์ และประพันธ์ จิระดา. 2527. แมลงมัน:ชีววิทยาทั่วไป.(Carebara castanea Sm.: Formicidae, Hymenoptera) วารสารวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 38(4) : 223-229

10. ไพฑูรย์ เล็กสวัสดิ์ และประนอม แก้วระคน. 2529. สัณฐานวิทยาและพืชอาหารของผีเสื้อมวนหวาน 3 ชนิด. วารสารคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 13(1) : 89-103.

11. รุ่งทิวา ว่องวิกย์การ และไพฑูรย์ เล็กสวัสดิ์. 2529. การป้องกันกำจัดหนอนม้วนใบถั่วเหลือง Lamprosema diemenalis โดยการใช้ไพล ขมิ้นชัน และแมลงเบียน การประชุมทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 12 ที่มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร กรุงเทพ ฯ 20 - 22 ตุลาคม 2529

12. รุ่งทิวา ว่องวิกย์การ และไพฑูรย์ เล็กสวัสดิ์. 2530. ระดับการทำลายของหนอนม้วนใบถั่วเหลือง. วารสารวิทยาศาสตร์ 41(1) : 160-166

13. ไพฑูรย์ เล็กสวัสดิ์ 2530. กายวิภาคของกบ Rana rugulosa Wiegmann. วารสารวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 14 : 135-149

14. รุ่งทิวา ว่องวิกย์การ และไพฑูรย์ เล็กสวัสดิ์. 2531. รัง,ประชากร และการเจริญของมดแดง Oecophylla smaragdina F. การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 26. ที่มหาวิทยาลัยเกษรศาสตร์ บางเขน กรุงเทพ ฯ 3-5 กุมภาพันธ์ 2531.

15. ไพฑูรย์ เล็กสวัสดิ์ และสมบูรณ์ ทำทา. 2531. การศึกษาแมลงนูนที่อำเภอแจ้ห่ม ลำปาง. การประชุมทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 14 ที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรุงเทพ ฯ 19-21 ตุลาคม 2531

16. ไพฑูรย์ เล็กสวัสดิ์ และโชคชัย ค้ำชู. 2532. การใช้แมลงเบียน Anastatus sp. (Eupelmidae : Hymenoptera) ในการควบคุมมวนลำไย Tessaratoma papillosa Drury Pentatomidae : Hemiptera การประชุมทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 15 ที่มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 18-20 ตุลาคม 2532

17. ไพฑูรย์ เล็กสวัสดิ์ และโชคชัย ค้ำชู. 2532. การเลี้ยงให้ได้ปริมาณมากและการปลดปล่อยแมลงเบียน Anastatus sp. การประชุมวิชาการครั้งที่ 7 เรื่องเทคนิคของวิธีการทางวิทยาศาสตร์ชีวภาพที่ศูนย์ปฏิบัติการวิจัยและเรือนปลูกทดลอง สถาบันและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กำแพงแสน 15-16 พฤศจิกายน 2532

18. ไพฑูรย์ เล็กสวัสดิ์ สมบูรณ์ ทาทำ และจันทิรา ปัญญา. 2533. การเปลี่ยนแปลงจำนวนประชากรของแมลงนูนในรอบปี (Scarabaeidae : Coleoptera) การประชุมทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 16 ที่สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง และโรงแรมเซ็นทรัลพลาซ่า กรุงเทพ ฯ 25-27 ตุลาคม 2533

19. Leksawasdi, P., S. Moolsadang and P. Laonetr.1990. Studies on Pine Sawflies (Hymenoptera : Diprionidae),Proceeding of IUFRO, on Pests and Diseases of Forest Plantations, FAO, RAPA,Bangkok.PP.144-148.

20. Deharveng,L.,A. Bedos and P.Leksawasdi, 1989. Diversity in Tropical Forest Soils: the Collembola of Doi Inthanon (Thailand). Proceeding of the 3rd International Seminar on Apterygota. University of Seina. Seina Italy.317-328 p.

21. ไพฑูรย์ เล็กสวัสดิ์ 2534. หนอนทำลายใบถั่วเหลือง และแมลงเบียน, การประชุมทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 17, มหาวิทยาลัยขอนแก่น ขอนแก่น. 24-26 ตุลาคม 2534.

22. ไพฑูรย์ เล็กสวัสดิ์ และสมบูรณ์ ทำทา. 2535. การใช้แมลงเป็นอาหาร.การประชุมทางวิชาการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 30 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพ ฯ 29 มกราคม - 1 กุมภาพันธ์ 2535.

23. ไพฑูรย์ เล็กสวัสดิ์ และนุชจรินทร์ บุญธรรม. 2535. ชีวประวัติของหนอนกินใบลำใย Oxyodes scrobiculata F.(Noctuidae : Lepidoptera) การประชุมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 18 ที่ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ กรุงเทพ ฯ 27-29 ตุลาคม 2535

24. นุชจรินทร์ บุญธรรม และไพฑูรย์ เล็กสวัสดิ์ 2536. ชีวประวัติของหนอนเจาะขั้วลำไย (Conopomorpha sp.Gracillariidae : Lepidoptera). เอกสารเรื่องเต็มการประชุมวิชา การอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 1 ตุลาคม 2536 โรงแรมรามาการ์เด้นส์ กรุงเทพ ฯ 1: 207-213

25. นุชจรินทร์ บุญธรรม และไพฑูรย์ เล็กสวัสดิ์ 2537. การสำรวจ การศึกษา หนอนเจาะขั้วลำไย (Conopomorpha sp.Gracillariidae : Lepidoptera). และแมลงเบียน.วารสารคณะวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 21:1-2,1-6.

26. นุชจรินทร์ บุญธรรม และไพฑูรย์ เล็กสวัสดิ์ 2537. สารเหม็นของมวนลำไย (Tessaratoma papillosa Drury Pentatomidae: Hemiptera). วารสารคณะวิทยาศาสตร์ มช. 21: 7-4.

27. Deharveng,L.,A. Bedos and P.Leksawasdi, 1994. ฺBiodiversity of Colembol (Insecta) in Doi Inthanon Soils (Thailand)and its implications for global biodiversity estimates. Forest Biodiversity Symposium : Measuring and Monitoring Biodiversity in Tropical and Temperate Forests, the Empress Hotel, Chiang Mai, Thailand , August 28 - September2,1994

28. ไพฑูรย์ เล็กสวัสดิ์ และพรทิพย์ เจริญพิวัฒพงษ์. 2537. การใช้หนอนนกเลี้ยงมวนพิฆาต Eocanthecona furcellata (Wolff). การประชุมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 20 ที่บางกอกคอนเวนชั่นเซ็นเตอร์ โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา กรุงเทพ ฯ 19-21 2537

29. ไพฑูรย์ เล็กสวัสดิ์ และกอบชัย หลายประดิษฐ์. 2538. การสำรวจแมลงสาบ และแมลงเบียนไข่ในจังหวัดเชียงใหม่ การประชุมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 21 ที่โรงแรมแอมบาสเดอร์ซิตี้ จอมเทียน ชลบุรี 25-27 ตุลาคม 2536

30. ไพฑูรย์ เล็กสวัสดิ์ 2538. ชีวประวัติและศัตรูธรรมชาติของหนอนเยื่อไผ่ (Omphisa sp. Pyralidae : Lepidoptera) เอกสารเรื่องเต็มจากการประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 2 โรงแรมเพชรงาม เชียงใหม่ 9-11 ตุลาคม 2538 1: 96-102.

31. ไพฑูรย์ เล็กสวัสดิ์ และนุชจรินทร์ บุญธรรม. 2539. การทำลายผลของหนอนเจาะขั้วผลลิ้นจี่และลำใย (Conopomorpha sp. Gracillariidae:Lepidoptera) การประชุมทางวิชาการครั้งที่ 34 ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 30 มกราคม ถึง 1 กุมภาพันธ์ 2539 อาคารอินทรีจันทรสถิตย์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพ ฯ

32. กอบชัย หลายประดิษฐ์ และไพฑูรย์ เล็กสวัสดิ์ 2539. การศึกษาแมลงสาบเพื่อเพิ่มจำนวนแมลงเบียนไข่. การประชุมทางวิชาการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ครั้งที่ 22 เซ็นทรัลพลาซ่า ลาดพร้าว กรุงเทพ ฯ 16-18 ตุลาคม 2539

33. Kobchai Laipradit and Paitoon Leksawasdi., 1996. Mass Rearing Experiment of Egg Parasite (Tetrastichus hagenowii) Retezeburg of Cockroach (Periplaneta americana (Linnaeus)). 16 th Biennial Conference of the Asian Association for Biology Education”Excellence in Biology Teaching : Research, Practice and Experience” 2-7 December 1996. Chiang Mai University. Chiang Mai. Thailand.

///การวิจัย / ห้องปฏิบัติการวิจัยและหน่วยวิจัย