1. ชื่อห้องปฏิบัติการวิจัย

อณูชีววิทยา

Molecular Biology

ภาควิชา : ชีววิทยา

2. สมาชิก : ประกอบด้วย

1) รศ. ดร. สมบูรณ์ อนันตลาโภชัย

ผู้ประสานงานห้องปฏิบัติการวิจัย

2) ดร. กอบเกียรติ แสงนิล

3) อาจารย์ สิริวดี ชมเดช

4) นายสุทัศน์ สุภาษี

สมาชิก

สมาชิก

สมาชิก

3. หลักการและเหตุผล

วิทยาการด้านเทคโนโลยีชั้นสูงนับวันยิ่งเป็นที่ต้องการของประเทศมากขึ้นเป็นลำดับ เนื่องจากความรู้ทางด้านนี้สามารถที่จะนำมาประยุกต์เพื่อช่วยในการพัฒนาประเทศให้เจริญรุดหน้าขึ้นไป ปัจจุบันประเทศไทยได้พัฒนาจากประเทศเกษตรกรรม มาเป็นประเทศเกษตรอุสามหกรรมอย่างรวดเร็ว ในช่วงเวลาที่ผ่านมา อันส่งผลให้การเติบโตทางเศษกิจของประเทศเป็นที่ยอมรับในระดับสากลแล้ว ด้วยเหตุนี้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีโดยเฉพาะทางสาขา อณูชีวิทยา หรือ พันธุวิศวกรรม จึงถือว่ามีความจำเป็นอย่างยิ่งยวดในการที่จะนำมาใช้เป็น “เครื่องมือ” ในการที่จะใช้สนับสนุนและส่งเสริม ทั้งทางด้าน คุณภาพ และปริมาณ ของผลผลิตไม่ว่าจะเป็นทางด้านการเกษตรกรรม การประมง เภสัชกรรม อุตสาหกรรม และแม้กระทั่งการแพทย์

ดังนั้น จะเห็นได้ว่างานทางด้าน อณูชีวิทยา เป็นที่ต้องการของประเทศทั้งในปัจจุบัน และในอนาคต

4. วัตถุประสงค์และเป้าหมาย

- เพื่อประยุกต์งานทางด้านอณูชีววิทยา / พันธุวิศวกรรม มาใช้ในการจำแนกสิ่งมีชีวิต ทั้งพืช และสัตว์ต่างชนิด (Biodiversity) เพื่อประโยชน์ในการจดสิทธิบัตรทางพันธุกรรมในอนาคต

- เพื่อประยุกต์งานทางด้านอณูชีววิทยา / พันธุวิศวกรรม มาวิจัยร่วมกับวานทางสาขาอื่น อาทิเช่น สรีรวิทยา วิทยาการก่อนและหลังการเก็บเกี่ยว

- เพื่อประยุกต์งานทางด้านอณูชีววิทยา / พันธุวิศวกรรม มาสนับสนุนงสนวิจัยสาขาวิชาต่างๆ เช่น การเกษตร การประมง เภสัชกรรม จุลชีววิทยา และการแพทย์ เป็นต้น

- เพื่อประสานการทำงานร่วมกันของหลายสาขาวิชา อันจะนำไปสู่การวิจัยที่ครบวงจร

5. งานวิจัยที่กำลังดำเนินการอยู่

1. การผลิตสาร secondary metabolites ในพืชสมุนไพรกวาวขาวโดยเทคนิคทางเทคโนโลยีชีวิภาพ

1.1 การขยายจำนวนราก Pueraria mirifica โดยเทคนิคทางเทคโนโลยีชีวิภาพ(ทุนวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ ส่งรายงานฉบับสมบูรณ์ แล้ว)

1.2 การศึกษาเบื้องต้นของการส่งถ่ายยีนเข้าในสมุนไพรกวาวเครือขาว (Pueraria mirifica )(ทุนวิจัยมหาวิทยาลัย 2537 อยู่ระหว่างการดำเนินการวิจัย)

2. การศึกษาพันธุกรรมพืชระดับอณูโมเลกุล : พืชกลุ่มตระกูลกระเจียว (Curcuma) และ ขิง(Zingiber)(ทุนวิจัยในพระราชดำริของสมเด็จพระเทพรัตนราสุดา สยามบรมราชกุมารี ในโครงการอนุรักษ์พันธ์พืช : 2537-2540)

3. การตรวจหาความแปรปรวนทางพันธุกรรมในข้าวขึ้นน้ำของไทย โดยเทคนิคทางอณูชีววิทยา ( ทุนวิจัยจากสถาบันวิจัยและพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี : 2538-2540)

4. การจำแนกพันธ์บางชนิด ได้แก่ สมุนไพรกวาวขาว ลิ้นจี่ โดยอาศัยเทคนิคทางด้านอณูชีววิทยา ( ส่วนหนึ่งภายใต้โครงการกาญจนภิเษก : 2541- 2546)

6. อุปกรณ์เครื่องมือวิจัยหลักที่มีอยู่แล้ว

- table centrifuge

- mechanic pipette

- incubator oven

- refrigerators

- electrophoresis apparatus and power supply

- UV light box

- camera detection

- PCR machine

- microwave

- hybridization oven

- freezer

7. ผลสัมฤทธิ์ของงานวิจัยจนถึงปัจจุบัน

1 Anuntalabhochai, S., Chuaychoo,A., and Smitasiri, Y. (1982). : Inhibition of egg laying in Japanese quail by white gwow (Pueraria milifica). 8th Conf. Sci. & Tech. Chulalongkorn University, BKK, Thailand.

2 Anuntalabhochai, S., Smitasiri, Y., and Rojlertjanya, P. (1983) : Susceptibility of Japanese quails on different doses of white gwow and barn. J. Sci. Fac. CMU 10:35-46.

3 Vanichacheeva, S., Puchito, P., and Anuntalabhochai, S. (1983) : Comparative effects between white gwow ( Pueraria mirifica) and barn on body weight and tibia in Japanese quails. 21st Conf. Kasetsart University, Science Section, BKK, Thailand.

4 Vanichacheeva, S., Anuntalabhochai,S., and Puchito, P. (1983) : Development of the tibia in Japanese quail. Zoology Bulletin 2: 9-14.

5 Muangdet, N., and Anuntalabhochai, S. ( 1984 ) : Effects of low doses of white gwow

( Pueraria mirifica ) to male Japanese quails. 10th Conf. Sci. & Tech. Chiangmai University, Chiangmai, Thailand.

6 Chuaychoo, S., Juyatum, U., Anuntalabhochai, S and Smitasisri, Y. (1984) : Toxic effects of white gwow ( Pueraria mirifica ) in Japanese quails. J. Sci. Fac. CMU 11:46-55.

7 Anuntalabhochai, S., and Mungdet, N. ( 1985 ) : Effects of low doses white gwow

( Pueraria mirifica) to female Japanese quails. J. Sci. Fac. CMU 12:28-41.

8 Jesrichai, S., Anuntalabhochai, S., Sinchaisri, T., Smitasiri, Y. (1985). : Effects of high doses Thai plant, white gwow ( Pueraria mirifica) on couturnix quails I : Histopatological changes in testes. The 11st Sci. & Tech. Oct, 1985. Kasetsart University, Thailand.

9 Anuntalabhochai, S., and Jesrichai, S. (1985) : Effect of high doses Thai plant, white gwow ( Pueraria mirifica) on coturnix quails II : Changes in calcium, total protein and cholesterol concentration in blood serum. J.Sci. Fac. CMU 13: 29-37.

10 Anuntalabhochai, S., Jesrichai, S., Promkutkaew, S. (1986) : Comparative effects of histological changes in Japanese quail's testis among different dose Thai plant, Pueraria mirifica Shaw et Suvat. for a short treatment. Proceeding of the 24th Conf. Kasetsart university, Science Section, BKK, Thailand.

11 Smitasiri, Y., Juyatum, U., Songjitsawad, A., Sripromma, P., Trisrisilpa, S., and Anuntalabhochai, S. (1986) : Postcoital antifortility effects of Peuraria mirifica in rats J.Sci. Fac. CMU 13: 1-28.

12 Smitasiri, Y., Anuntalabhochai, S., and Sornsrivicahi, J. (1986) Effects of the estrogenic substance from Pueraria mirifica on reproductive function. 4 th FAOB Congress, Republic of Singapore.

13 Lumyong, S., Anuntalabhochai, S., and Takahashi, H. (1988). Nutritional Value and effect on growth of Japanese quails (Couturnix couternix japonica) of single cell protein from bacteria producing molecule hydrogen : Rhodopseudomonas sphaeroides B5 grow in to-fu whey. Proceeding of International Conference on Water and Waste Water Microbiology, Feb. 8-11 California: 67-1 to 67-3.

14 Anuntalabhochai, S., Terryn, T., Van Montagu, M., and Inze', D. (1991). Molecular characterization of an Arabidopsis thaliana cDNA encoding a small GTP-binding protein, Rha1. Plant, J. 1:167-174.

15. Terryn, N. , Anuntalabhochai, S., Van Montagu, M., and Inze’, D. (1992). Analysis of a Nicotiana plumbaginifolia cDNA a novel small GTP-binding protein. FEBS Lett. 299:287-290.

16 Kumpoun, W., Chuthakorn, R., Supyen, D., Sardsud, V., Anuntalabhochai, S., Yantrasri, T., Promin, S., and Sornsrivichai, J. (1994 ). Quantitative relation between derivative in the peel of mango (Mangifera indica) to maturity and cultivars. 20th Conf. Sci. & Tech. of Thailand, Thamasart University, Bangkok Conventional Center, Central Plaza Hotel, BKK, Thailand.

17 Anuntalabhochai, S., Geilen, J., Van Montagu, M., and Van Der Straeten, D. (1995). Molecular characterization of genes encoding ACC synthase in deepwater rice. 4th Pacific Rim Biotechnology Conference. Feb.4-9, 1995, Melbourne, Australia.

18 Anuntalabhochai, S., Geilen, J., Zhou, Z., Van Montagu, M., and Van Der Straeten, D. (1995). Identification and characterization of genes involved in ethylene biosynthesis in deepwater rice. Proceeding ในงานสัมมนาวิชาการทางพันธุ์ศาสตร์ ครั้งที่ 9 เรื่อง " พันธุ์ศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิติ และ สิ่งแวดล้อม. 22-24 มีนาคม 2538 โรงแรม ปางสวนแก้ว เชียงใหม่.

19 Apavatjrut, P., Sirirugsa, P., Sirisawad, T., Anuntalabhochai, S., and Alisi, C (1996). The use of isozyme to support identification in Curcuma aurantiaca Van Zijp. The Third Pacific Conference on Agricultural Biotechnology. Oct. 10-15, 1996, Prachuab Kirikhan, Thailand.

20 Van Der Straeten, D., Anuntalabhochai, S., Van Caeneghem, W., Zhou, Z., Gielen , J and Van Montagu, M. (1997). Expression of three members of the ACC synthase gene family in deepwater rice by submergence, wounding and hormonal treatments. Plant Science 124: 79-87.

/ /การวิจัย / ห้องปฏิบัติการวิจัยและหน่วยวิจัย