การบริหารการศึกษา(โครงการตอบสนองนโยบาย)

.

โครงการเร่งรัดการผลิตบัณฑิตสาขาขาดแคลน

คณะวิทยาศาสตร์ ได้เข้าร่วมโครงการเร่งรัดการผลิตบัณฑิตสาขาขาดแคลนตามนโยบายของรัฐบาล ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2538 รวมทั้งสิ้น 4 สาขา ได้แก่ สาขาคณิตศาสตร์ อัญมณีและเครื่องประดับ วิทยาศาสตร์ และวิทยาการคอมพิวเตอร์ นอกจากนี้ยังได้บริการการเรียนการสอนวิชาพื้นฐาน สำหรับนักศึกษาของโครงการเร่งรัดการผลิตบัณฑิตสาขาขาดแคลนของคณะอื่น ๆ ในสาขาดังต่อไปนี้ คือ สาขาแพทยศาสตร์ สาขาพยาบาลศาสตร์ สาขาสถาปัตยศาสตร์ สาขาสหเวชศาสตร์ สาขาคณิตศาสตร์ศึกษาและโครงการผลิตแพทย์เพิ่มเพื่อชาวชนบท ระหว่างกระทรวงสาธารณสุขและทบวงมหาวิทยาลัย

สรุปจำนวนนักศึกษารับเข้าตามโครงการเร่งรัดการผลิตบัณฑิต สาขาขาดแคลน ในปี 2542 ดังนี้

คณะ/ สาขา

จำนวน

1. นักศึกษาของคณะวิทยาศาสตร์

(ไม่รวมนักศึกษาในแผนปกติ)

1.1 สาขาวิทยาศาสตร์

- สาขาชีววิทยา

- สาขาเคมี

- สาขาชีวเคมีและชีวเคมีเทคโนโลยี

- สาขาฟิสิกส์

- สาขาวัสดุศาสตร์

- สาขาเคมีอุตสาหกรรม

- สาขาธรณีวิทยา

1.2 สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์

1.3 สาขาคณิตศาสตร์ (ทุน ร.พ.ค.)

1.4 สาขาอัญมณีและเครื่องประดับ

275

.

180

60

20

10

30

30

10

20

50

5

40

2. นักศึกษาคณะอื่น ที่เข้าเรียนวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน คณะวิทยาศาสตร์ (ไม่รวมนักศึกษาในแผนปกติ)

422

โครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก

ตามที่สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย ร่วมกับทบวงมหาวิทยาลัย และสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งชาติ ได้รับอนุมัติจากคณะรัฐมนตรีให้จัดทำโครงการเพื่อผลิตนักวิจัยระดับปริญญาเอก(โครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก) โดยเริ่มให้ทุนตั้งแต่ปีการศึกษา 2541 นั้น ปรากฏว่าใน รุ่นที่ 1 ปีการศึกษา 2541 อาจารย์ของคณะวิทยาศาสตร์ ได้รับทุนให้เป็นอาจารย์ที่ปรึกษาในการผลิตนักวิจัยระดับปริญญาเอกทั้งสิ้น 14 ท่าน จำนวน 17 ทุน และได้มีนักศึกษาที่ได้รับทุนในรุ่นที่ 1 เรียบร้อยแล้ว จำนวน 14 คน รายละเอียดดังนี้

อาจารย์ที่ปรึกษา

แนวทางการทำวิทยานิพนธ์

นักศึกษา

สาขาคณิตศาสตร์

1. ศ. ดร. สมพงษ์ ธรรมพงษา

Principally-Injective Modules

นายสมจิต โชคชัยสถิตย์

Simple-Injective Modules

นายหาญศึก ตาลศรี

สาขาฟิสิกส์

2. ศ. ดร. ทวี ตันฆศิริ

Electrical Properties of Piezoceramic-Polymer

Composits

*

Electrical Application of Barium Titanate Ceramics Containing Barium / Titanium Various Ratios

นายสิงหเดช แตงจวง

3. รศ.ดร. ถิรพัฒน์ วิลัยทอง

Ion Solid Interactions

นายมิญช์ เมธีสุวกุล

Far Infrared Radiation Source

นางสาวสาคร ริมแจ่ม

สาขาเคมี

4. รศ. ดร. เกตุ กรุดพันธ์

Development of Flow Injection Systems with Extractive Chromatographic Separation

นายพัฒนพงศ์ อ่ำพันธุ์

5. รศ. ดร. ด้วง พุธศุกร์

Synergistic Effects of Active Constituents of Medicinal Plants

นางโสภา เชี่ยวชาญวุฒิวงศ์

สาขาธรณีวิทยา

6. รศ. ดร. เบ็ญจวรรณ รัตนเสถียร

Effects of Environmental Factors on Accumulation of Fossil Fuel Deposits in Northern Thailand

นายธนูชัย ศิลารัตน์

7. รศ. ดร. ยืนยง ปัญจสวัสดิ์วงศ์

Geochemistry Petrology and Tectonic Significance of Mafic Volcanic Rocks Along Chiang Mai Volcanic Belt Northern Thailand

*

สาขาชีววิทยา

8. ดร. ชูศรี ไตรสนธิ

Biodiversity of Plants on Doi Phuka, Nan Province

นายปรัชญา ศรีสง่า

9. รศ. ดร. วิไลวรรณ อนุสารสุนทร

Taxonomie Rivision of a Family or Some Genera of Flowering Plants in Thailand

*

10. รศ. ดร. สมบูรณ์ อนันตลาโภชัย

Molecular Identification of Lychee (Litchi chinensis Sonn.) in Thailand

นายรัฐพร จันทร์เดช

11. รศ. ดร. จินดา ศรศรีวิชัย

Quality Indices of Tropical Fruit: Assessment and Measurement by Non-Destructive Technology for Quality Assurance

นางสาวศิรินนภา ศรัณย์วงศ์

12. รศ. ดร. สายสมร ลำยอง

Studies and Collection of Endophytic Fungi on Musa in Thailand

นางสาว วิพรพรรณ์ โพธิตา

สาขาเทคโนโลยีชีวภาพ

13. รศ. ดร. ภาวิณี คณาสวัสดิ์

1. Utilization of Immobilized Lipases for Elimination of Fats and Oilsfrom Industrial Waste

2. Preparation of Papain from Papaya Latex for

Detergent Industry

นายธีรพงษ์ เทพกรณ์

14. รศ. ดร. สุรีย์ ฟูตระกูล

Optimization of a Thermostable Lipases for Industrial Application

นาย ศุภโชค สินไชยกุล

* อาจารย์ที่ได้รับทุน คปก. รุ่นที่ 1 แต่ยังไม่มีนักศึกษา

สำหรับโครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษกรุ่นที่ 2 ปีการศึกษา 2542 อาจารย์ของคณะวิทยาศาสตร์ ได้รับทุนให้เป็นอาจารย์ที่ปรึกษาในการผลิตนักวิจัยระดับปริญญาเอกทั้งสิ้น 13ท่าน จำนวน 15 ทุน และได้มีนักศึกษาที่ได้รับทุนในรุ่นที่ 2 เรียบร้อยแล้ว จำนวน 9 คน รายละเอียดดังนี้

สาขา - อาจารย์ที่ปรึกษา

แนวทางการทำวิทยานิพนธ์

นักศึกษา

สาขาเทคโนโลยีชีวภาพ

1. รศ. ดร. สุรีย์ ฟูตระกูล

Protein Engineering of Snake Venom by Chemical Synthesis Approach

*

2. ผศ. ดร.นวลศรี รักอริยะธรรม

Glucosinolate and Myrosinase for Agro-Industrial Sectors Extension in Thailand

นายประคอง สาคร

สาขาคณิตศาสตร์

3. ศ. ดร. สมพงษ์ ธรรมพงษา

Geometry of Kothe-Bochner Spaces

Joint Essential Spectral Theory

*

*

สาขาฟิสิกส์

4. รศ.ดร. ถิรพัฒน์ วิลัยทอง

Pulsed Plasma Source Ion Implantation

High Energy Ion Implantation for Surface Modification of Insulators

*

*

สาขาธรณีวิทยา

5. รศ. ดร. เบ็ญจวรรณ รัตนเสถียร

Effect of Environmental Factors on Accumulation of Fossil Fuel Deposits in Southern and the Gulf of Thailand

นางสาวบัณฑิตา

อุดมกัน

สาขาวิชาเคมี

6. รศ. ดร. เกตุ กรุดพันธ์

Novel Analytical Systems with Flow Injection Analysis and Field Flow Fractionation

นางสาวรัตติกาล

จันทิวาสน์

7. รศ. ดร. ด้วง พุธศุกร์

Method Development for Isolation of Glycosides by Electrolytic Decolorization

นายวีรชัย พุทธวงศ์

8. ผศ. ดร. สายสุนีย์ เหลี่ยวเรืองรัตน์

Novel Flow Injection Techniques with Chemiluminescence and Spectrophotometric Detection for Trace Analysis

นายวิรัช เรืองศรีตระกูล

สาขาชีววิทยา

9. ดร. สตีเฟน อีเลียต

Taxonomy and Functional Morphology in Relation to Propagation of Native Forest Tree Seedling

นายเกริก ผักกาด

10. ดร. ชูศรี ไตรสนธิ

Taxonomie Revision of Some Genera in Family Lauraceae of Thailand

*

11. รศ. ดร. ดาวรุ่ง กังวานพงศ์

G6PD Deficiency and Its National Selection Against Malaria in Northern Thai Population

นางสาวสุนีย์ สีธรรมใจ

12. ดร. พรทิพย์ จันทรมงคล

Biodiversity of Aquatic Insects for Environmental Bioassessment

นายพงศ์ศักดิ์ เหล่าดี

13. รศ. ดร. สายสมร ลำยอง

Ecology of Edible Ectomycorrhizae in Forest of Northern Thailand

นางสาวรารุณี แสนหมี่

สำหรับโครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก รุ่นที่ 3 ปีการศึกษา 2543 อาจารย์ของคณะวิทยาศาสตร์ ได้รับทุนเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาในการผลิตนักวิจัยระดับปริญญาเอกทั้งสิ้น 15 ท่าน (17 ทุน) ดังนี้

สาขาวิชา

อาจารย์ที่ปรึกษา

แนวทางการวิจัย

จำนวนทุน

เทคโนโลยีชีวภาพ

1. รศ.ดร.สุรีย์ ฟูตระกูล

scchi007@chiangmai.ac.th

การแสวงหาตัวเร่งชีวภาพที่เสถียรและวิธีการใหม่ สำหรับการ
สังเคราะห์สารประกอบไคราลที่ใช้ทางเภสัชกรรม

Search for Stable Biocatalysts and Novel Procedures for Synthesis of Chiral
Pharmaceutical Compounds

ห้องสมุดเปปไทด์แบบผสมผสานเพื่อการศึกษาบริเวณที่เกิดความจำเพาะของโปรติเอสและ
การออกแบบตัวยับยั้งโปรติเอส

Facile Combinatorial Peptide Library for Studying Subsite-Specificity of Proteases
and Designing Proteases Inhibitors

1 ทุน

2. ผศ.ดร.นวลศรี รักอริยะธรรม

chlnuara@science.cmu.ac.th

-

1 ทุน

เคมี

3. รศ.ดร.เกตุ กรุดพันธ์

kate@chiangmai.ac.th

โฟลอินเจคชันสำหรับการเตรียมตัวอย่างและโครมาโตกราฟฟี

Folw Injection Sample Pretreatment with Chromatograghy

การชะของธาตุพิษบางชนิดจากถ่านลิกไนท์ และผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้องภายใต้บางสภาวะ

Leaching of Some Toxic Elements from Lignites and their Related Products Under
Certain Conditions

2 ทุน

4. รศ.ดร.ด้วง พุธศุกร์

duang@chiangmai.ac.th

-

1 ทุน

5. ผศ.ดร.สายสุนีย์ เหลี่ยวเรืองรัตน์

chlsaili@science.cmu.ac.th

การพัฒนาระบบโฟลอินเจคชันสำหรับวิเคราะห์หาโลหะ
ปริมาณน้อยโดยวิธีตรวจวัดทางไฟฟ้าเคมี

Development of Flow Injection System for Trace Metals Determination using
Electro-Chemical Detection

1 ทุน

ฟิสิกส์

6. รศ.ดร.ถิรพัฒน์ วิลัยทอง

thirapat@istrd.cmu.ac.th

การกระเจิงคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ากลับหลังแบบทอมป์สันจาก
อิเล็กทรอนความเร็วสูง

Thomson Back Scattering of Electromagnetic Radiation from
Relativistic Electron

1 ทุน

7. รศ.ดร.สมศร สิงขรัตน์

เทคนิค RBS จากเครื่องเร่งอนุภาคพลังงานต่ำที่ใช้วิธีการ TOF

TOF-RBS for Low Energy Accelerator

1 ทุน

ธรณีวิทยา

8. รศ.ดร.เบ็ญจวรรณ รัตนเสถียร

scgli008@chiangmai.ac.th

การเปรียบเทียบลำดับชั้นหินของแอ่งเทอร์เชียรี่ ในภาคเหนือ
ของประเทศไทย โดยใช้สาหร่าย ละอองเกสร และสปอร์

Stratigraphic Correlation of Tertiary Basins in Northern Thailand Using
Algae Pollen and Spore

1 ทุน

คณิตศาสตร์

9. รศ.อำนวย ขนันไทย

การหาสเปคตรัมของตัวดำเนินการไดมอนด์

The Spectrum of Diamond Operator

การหาเรซิดิวของตัวดำเนินการไดมอนด์

The Residues of Diamond Operator

ปัญหาค่าขอบเขตของคำตอบของตัวดำเนินการไดมอนด์ที่สัมพันธ์กับสมการคลื่น

Boundary Valued Problems of the Diamond Operator Related to the Wave Equations

2 ทุน

ชีววิทยา

10. อ.ดร.ชูศรี ไตรสนธิ

scictrsn@chiangmai.ac.th

การศึกษาพฤกษศาสตร์พื้นบ้านเปรียบเทียบในภาคเหนือ
ตอนบนของประเทศไทย

Comparative Ethnobotanical Studies in Upperpart of Northern Thailand

1 ทุน

11. อ.ดร.พรทิพย์ จันทรมงคล

sciboi021@chiangmai.ac.th

ความหลากหลายของแมลงริมฝั่งลำธารกับการอนุรักษ์
พื้นที่ป่าบนภูเขาในประเทศไทย

Biodiversity of Riparium Insects and Their Conservation in Montane Thailand

1 ทุน

12. รศ.ดร.ดาวรุ่ง กังวานพงศ์

scidkngw@chiangmai.ac.th

การติดตามผลทางชีวภาพและการประเมินความเสี่ยงต่อสุขภาพ
ของกลุ่มประชากรที่สัมผัสสารพิษในสิ่งแวดล้อม

Biomonitoring study of Human populations for Environmental Toxic Substances
Exposure and Health Risk Assessment

1 ทุน

13. รศ.ดร.สมบูรณ์ อนันตลาโภชัย

somboon@chiangmai.ac.th

การประยุกต์ใช้ Ion Beam Implantation
ในงานด้านชีววิทยาโมเลกุล

Application of Ion Beam Implantation in Molecular Biology

1 ทุน

14. รศ.ดร.สายสมร ลำยอง

saisamorn@chiangmai.ac.th

ความหลากหลายทางชีวภาพของเอนโดไฟติคฟังไจใน
ต้นพืชสมุนไพรบางชนิดและความสัมพันธ์ต่อโฮสต์

Biodiversity of Endophytic Fungi and Their Interrelationship to Host in some
Medicinal Plants

1 ทุน

15. ผศ.ดร.ชโลบล วงศ์สวัสดิ์

ชีววิทยาและชีวประวัติพยาธิใบไม้ Stellantchasmus falcatus ในเชียงใหม่

Biology and Life History of Trematode, Stellantchasmus falcatus in Chiang Mai

1 ทุน

โครงการหลักสูตรดุษฎีบัณฑิตร่วมกับมหาวิทยาลัยในต่างประเทศ

ตามที่ทบวงมหาวิทยาลัยได้รับอนุมัติให้จัดทำโครงการหลักสูตรดุษฎีบัณฑิตร่วมกับมหาวิทยาลัยในต่างประเทศ ตามโครงการขยายการจัดการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา เพื่อลดค่าใช้จ่ายในช่วงเศรษฐกิจชะลอตัว ด้วยการสนับสนุนงบประมาณเพื่อพัฒนาหลักสูตร และปรับปรุงระบบการเรียนการสอนหลักสูตรดุษฎีบัณฑิตร่วมกับมหาวิทยาลัยในต่างประเทศ โดยมีการพิจารณาคัดเลือกหลักสูตรที่มีศักยภาพ สมควรสนับสนุน ในปีงบประมาณ 2541 จำนวน 25 หลักสูตร ในจำนวนนี้เป็นหลักสูตรของคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จำนวน 2 หลักสูตร ได้แก่ 1). หลักสูตรวิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเคมี โดยความร่วมมือกับ University of Washington, Seattle: สหรัฐอเมริกา, Karlsruhe Research Centre, Karlsruhe,:สหพันธ์ สาธารณรัฐเยอรมัน, Monash University, Melbourne: ออสเตรเลีย, Birkbeck College, University of London: อังกฤษ, Liverpool John Moores University, Liverpool: อังกฤษ , University of Hull, Hull, อังกฤษ 2). หลักสูตรวิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาฟิสิกส์ โดยความร่วมมือกับสถาบันในประเทศสวีเดน ได้แก่ Uppsala University, Royal Institute of Technology(Stockholm), Lund University, Chalmer University of Technology ภายใต้การประสานงานของ International Program in Physical Science (Uppsala University)

สำหรับในปีงบประมาณ 2542 คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้รับการสนับสนุนงบประมาณในโครงการหลักสูตรดุษฎีบัณฑิตร่วมกับมหาวิทยาลัยในต่างประเทศ เพิ่มเติมอีก 3 หลักสูตรได้แก่

      1. หลักสูตรวิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเคมี เน้นแขนงเคมีฟิสิกัล โดยความร่วมมือกับ University of Leeds: อังกฤษ, Monash University: ออสเตรเลีย , Freiberg University of Mining and Technology: สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมัน
      2. หลักสูตรวิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวัสดุศาสตร์ โดยความร่วมมือกับ School of Materials, University of Leeds: อังกฤษ
      3. หลักสูตรวิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาธรณีวิทยา โดยความร่วมมือกับ The University of Birmingham: อังกฤษ

รายงานประจำปี 2542

.