1. ชื่อหน่วยวิจัย : เทคโนโลยีจุลินทรีย์
Microbial Technology
ภาควิชา ชีววิทยา

2. ชื่อผู้ประสานงาน ดร. ภาณุวรรณ จันทวรรณกูร

3. สมาชิก
ดร. ปานมุก วัชระปิยะโสภณ

4. ปีที่เริ่มจัดตั้ง 2545

5. กิจกรรมของหน่วยวิจัย ที่ได้ดำเนินการในปีที่ผ่านมา
5.1 โครงการวิจัย เรื่อง การศึกษาโรคที่เกิดจากผึ้งพันธุ์ (Apis mellifera) และผึ้งโพรง (Apis cerana)และใช้สารสกัดจากธรรมชาติในการบำบัด สนับสนุนโดยสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว)
5.2 โครงการวิจัยเรื่อง การผลิตโยเกิร์ตผลิตภัณฑ์ใหม่โดยใช้น้ำผึ้งและนมผึ้ง สนับสนุนโดยเงินอุดหนุนการวิจัยจากงบประมาณเงินรายได้ 2545 คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

6. ประวัติผลงานที่ผ่านมานับตั้งแต่ก่อตั้งหน่วยวิจัย

6.1 ผลงานตีพิมพิ์
 ดร. ภาณุวรรณ จันทวรรณกูร
1. Chantawannakul, P., Oncharoen, A., Klanbut, K., Chukeatirote, E., Lumyong, S., 2002. Characterization of proteases of Bacillus subtilis strain 38 isolated from traditionally fermented soybean in Northern Thailand Science Asia 28:3, 241-245. (funded by Prof Dr. Natth Bhamarapravati research fund)
2. Chantawannakul, P, Yoshimune, K., Shirakihara, Y., Shiratori, A., Wakayama, M. and Moriguchi, M. 2003. Crystallization and preliminary x-ray crystallographic studies of salt-tolerant glutaminase from Micrococcus luteus K-3. Acta Crystallographica. 59: 556-558 (funded by Monbusho)
3. Chantawannakul, P., Peterson, S., and Wongsiri, S. 2003. South east asia beekeeping in digital age. American Bee Journal (submitted).
4. Chantawannakul, P. Puchanichanthranon, T, and Wongsiri, S. 2003 Inhibitory effect of some medicinal plant extracts on the growth of Ascoshaera apis. Acta Horticulturae (submitted).

ดร. ปานมุก วัชระปิยะโสภณ
Hayes, P.K., Barker, G.L.A., Batley, J., Beard, S. J., Handley, B. A., Vacharapiyasophon, P. and Walsby, A. E. 2002. Genetic diversity within populations of cyanobacteria assessed by analysis of single filaments. Antonie van Leeuwenhoek. 81: 197-202

6.2 ผลงานวิจัยที่เสนอในที่ประชุม
ดร. ภาณุวรรณ จันทวรรณกูร
1. Puchanichanthranon, T, Chantawannakul, P and Wongsiri, S. 2002 Distribution and controlling of Ascoshaera apis, a pathogen causing Chalkbrood disease in honey bee larvae in northern Thailand. The 3rd Asia-Pacific Mycological conference on biodiversity and biotechnology (4-8 November, 2002, Yunnan University, China)
2. Sankaum, M., Kuntaruk, S., Chantawannakul, P., Tragoolpua, Y. 2002 Effect of royal jelly against herpes simplex virus type 2 infection. Thai society of virology conference, Bangkok, Thailand.
3. Chantawannakul, P. Puchanichanthranon, T, and Wongsiri, S. 2003 Inhibitory effect of some medicinal plant extracts on the growth of Ascoshaera apis. The 3rd World Congress on Medicinal and Aromatic Plants for Human Welfare (WOCMAP) (3-7 February, 2003, Chiang Mai, Thailand).
4. Chantawannakul, P., Chaiharn, M., Nandakwang, P., and Wongsiri, S. 2003 Microbial diseases of honey bee larvae in Thailand. Apimondia. (24-29 August, 2003, Slovania)
5. Chantawannakul, P., Chaiharn, M., Kanekumchorn, W, and Wongsiri, S. 2003 Antimicrobial substances from Thai royal jelly and propolis. Apimondia. (24-29 August, 2003, Slovania )

ดร. ปานมุก วัชระปิยะโสภณ
Kato, F., Kanda, K., Shichijo, N., Bovonsombut, S., Tragoolpua, Y. and Vacharapiyasophon, P. 2002. Restriction enzyme production in thermotolerant soil bacteria. The 3rd JSPS-NRCT Joint Seminar on Development of Thermotolerant Microbial Resources and Their Applications. Chiang Mai, Thailand.

6.3 ความร่วมมือกับสถาบันต่างประเทศ
- กำลังอยู่ในระหว่างการขอทุนวิจัยเรื่องสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพจากจุลินทรีย์ต้านทานโรคผึ้งและการประยุกต์ใช้เทคนิค photochemotherapeutics ร่วมกับ Assistant Professor Naowarat Cheeptham Dobson (Microbiologist) และ Assistant Professor Bruno Cinel (Organic Chemist), Department of Biological Science, University College of Cariboo (UCC), Kamloops, British Columbia, Canada

6.4 โครงการวิจัยที่ได้รับทุน
6.4.1 โครงการวิจัย เรื่อง การศึกษาโรคที่เกิดจากผึ้งพันธุ์ (Apis mellifera) และผึ้งโพรง (Apis cerana)และใช้สารสกัดจากธรรมชาติในการบำบัด สนับสนุนโดยสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)
6.4.2 โครงการวิจัยเรื่องการผลิตโยเกิร์ตผลิตภัณฑ์ใหม่โดยใช้น้ำผึ้งและนมผึ้ง สนับสนุนโดยเงินอุดหนุนการวิจัยจากงบประมาณเงินรายได้ 2545 คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
6.4.3 ร่วมโครงการวิจัยของ ศ. ดร. สิริวัฒน์ วงษ์ศิริ ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สนับสนุนโดย สกว.

7. ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการในปีที่ผ่านมา
7.1 -7.4 (ดูจากข้อ 6.1-6.4 เนื่องจากหน่วยวิจัยก่อตั้งเมื่อปี 2545)

7.5 การให้บริการวิชาการ
-จัดการสัมมนาเรื่องการละเมิดทรัพยากรและความหลากหลายทางชีวภาพ (Biopiracy and Biodiversity) สนับสนุนโดย โครงการพัฒนาการเรียนการสอน อาจารย์และบุคลากร จากค่าธรรมเนียมพิเศษ ระดับปริญญาตรี ภาควิชาชีววิทยา เพื่อกระตุ้นให้บุคลากรในภาควิชาชีววิทยาซึ่งมีความเกี่ยวข้องโดยตรงกับการศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพทั้งจากธรรมชาติและการศึกษาพันธุกรรมใหม่ ๆ จากงานทางพันธุวิศวกรรม ได้มีความตระหนักถึงการละเมิดทรัพยากรธรรมชาติและการป้องกัน รวมทั้งส่งเสริมให้เกิดการมีข้อตกลงที่ถูกต้องในการสร้างงานวิจัยร่วมกับชาวต่างชาติ

7.6 ถ้ามีการบูรณาการกิจกรรมวิจัยกับการเรียนการสอนทุกระดับ ให้ระบุห้วข้อวิทยานิพนธ์ และ/หรือ การค้นคว้าอิสระ/ปัญหาพิเศษ รายชื่อนักศึกษา คณาจารย์ผู้กำกับดูแล และโครงการวิจัยที่หน่วยวิจัยเกี่ยวข้อง
7.6.1 ปัญหาพิเศษ "ผลของสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพจาก Spirulina platensis ต่อแบคทีเรียบางชนิด" ของ น.ส.วรลักษณ์ ธรรมนิยม
7.6.2 ปัญหาพิเศษ "ผลยับยั้งของนมผึ้ง ยางผึ้งและ สมุนไพรบางชนิดต่อการเจริญของ Staphyloccocus aureus และ Streptococcus pyogenes group A" ของ นาย วนพล แก่นกำจร รหัส 4205355

8. แผนดำเนินการและผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการด้านต่างๆ ในรอบปีที่คาดว่าจะได้รับการต่ออายุ
8.1 งานวิจัยผลของสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพจากไซยาโนแบคทีเรียต่อเชื้อก่อโรคในผึ้ง
8.2 งานวิจัยการควบคุมโรคราชอลค์บรูดในตัวอ่อนผึ้งโดยวิธีชีวภาพ
8.3 การประยุกต์ใช้ผลิตภัณฑ์ของผึ้งในอุตสาหกรรมอาหาร