1. ชื่อหน่วยวิจัย : แมลงเศรษฐกิจ
Economic Insects Unit
ภาควิชา ชีววิทยา

2. สมาชิกประกอบด้วย :

1. นายไพฑูรย์ เล็กสวัสดิ์ผู้ประสานงานหน่วยวิจัย
2. นางอุราภรณ์ สอาดสุดสมาชิก

3. หลักการและเหตุผลของการจัดตั้ง
แมลงเศรษฐกิจ หมายถึง แมลงที่อาจก่อประโยชน์และให้โทษแก่มนุษย์ การมุ่งการศึกษาแมลงกลุ่มนี้ทำให้ได้ทราบถึงรายละเอียดของแมลงซึ่งใช้เป็นตัวอย่างในการเรียนการสอนและการวิจัยของนักศึกษาระดับปริญญาตรีและบัณฑิตศึกษา ผลการวิจัยยังนำไปใช้ในการแนะนำเกษตรกร ถ้าเป็นศัตรูพืชเพื่อการป้องกันและกำจัด ถ้าเป็นแมลงที่เป็นประโยชน์ก็ส่งเสริมให้มีมากขึ้นเพราะอาจใช้ในการกำจัดแมลงศัตรูของเรา เช่น
แมลงห้ำ แมลงเบียน บางชนิดอาจเป็นแมลงที่ใช้เป็นอาหาร การหาวิธีเพาะเลี้ยงก็จะเป็นประโยชน์ในทางเศรษฐกิจ บางชนิดก็ให้ความเพลิดเพลิน สวยงาม เป็นการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติอีกประการหนึ่งเช่น ผีเสื้อ แมลงปอ นอกจากนี้ยังมีแมลงอื่น ๆ ซึ่งจัดอยู่ในประเภทกลางคือไม่ได้เป็นโทษต่อมนุษย์ แต่มีบทบาทในระบบนิเวศน์ที่เกี่ยวข้องกับมนุษย์ที่แสดงถึงความหลากหลายทางชีวภาพของแมลงในภาคเหนือของประเทศ

4. วัตถุประสงค์และเป้าหมาย
1. วิจัยแมลงที่น่าสนใจโดยเฉพาะในภาคเหนือของประเทศไทย เช่น ความหลากหลายของแมลง
2. วิจัยแมลงศัตรูพืชในภาคเหนือ เช่น แมลงศัตรูไม้ผล พืชผัก พืชประดับ
3. วิจัยการเพาะเลี้ยงแมลง เช่น เพื่อเป็นอาหารผีเสื้อ แมลงกำจัดแมลงศัตรูโดยชีววิธี

5. งานวิจัยหลักที่กำลังดำเนินการอยู่
1. ความหลากหลายของมวนน้ำและมวนบก
2. แมลงเบียนของแมลงวันทอง เพลี้ยไฟ
3. การเพาะเลี้ยงด้วงสคาแลปบางชนิด

6. อุปกรณ์เครื่องมือวิจัยหลักทีมีอยู่แล้ว
ได้แก่ อุปกรณ์ในการเดินทาง การจับและการเลี้ยงแมลง

7. ผลสัมฤทธิ์ทางการวิจัยจนถึงปัจจุบัน
7.1 Leksawasdi, P.,C. Duangsupa and, A. Thanyakam.2001. Invertebrate Diversity on Cabbage in the Non Insecticide Field, Life History and Development of Pieris canidia in Different Photoperiod. International Project of Butterfly Ecology in Thailand., Japan - Thai - USA. January 30-31, 2001. Tsu, Japan.
7.2 Leksawasdi, P., and K. Laipradit. 2001. The Egg's Parasitoid of Periplaneta americana (L.) in Chiang Mai, Thailand. International Symposium : Parasitic Hymenoptera : Taxonomy and Biological Control. May 13-17, 2001. Cossec, Hungary.
7.3 Leksawasdi, P.,A. Thanyakam and, C. Duangsupa .2001. Parasitoids of Longan Leaf Eating Part 1. Research Meeting of National Biological Research Center 2001. June , 20-22, 2001. Sakura Grand View Hotel, Had Yai District, Songkha Province.
7.4 Leksawasdi, P.,A. Thanyakam and, C. Duangsupa. 2001. Moths of Limacodidae and Parasitoids of Longan. Research Meeting of National Biological Research Center 2001. June , 20-22, 2001. Sakura Grand View Hotel, Had Yai District, Songkha Province.
7.5 Leksawasdi, P.,A. Thanyakam and, C. Duangsupa. 2001. Parasitoids of Fruit flies in Chiang Mai Province. Research Meeting of National Biological Research Center 2001. June , 20-22, 2001. Sakura Grand View Hotel, Had Yai District, Songkha Province.
7
.6 Leksawasdi, P.,C. Duangsupa and, A. Thanyakam.2001. Fruit Flies and Parasitoids. National Science week Fair 2001. August, 16-18, 2001. Faculty of Science, Chiang Mai University, Chiang Mai Province.
7.7 Leksawasdi, P.,C. Duangsupa and, A. Thanyakam.2001.Fruit and Fruit Flies Species in some Provinces of Northern Thailand. 20th ASEN and 2nd APEC Seminar on Postharvest Technology. September 11-14, 2001. Chiang Mai, Thailand.
7.8 Leksawasdi, P.,A. Thanyakam and, C. Duangsupa. 2001. Longan Pest, Slug Larvae.
27th Conference on Science and Technology of Thailand. October, 16-18, 2001. Lee Garden Plaza Hotel, Had Yai Songkha Province.

8. ผลงานตีพิมพ์เผยแพร่
8.1 ไพฑูรย์ เล็กสวัสดิ์. 2544. หนอนเยื่อไผ่ในประเทศไทย. แก่นเกษตร 29(1) : 15-21
8.2 ศิรินันท์ เอี่ยมประภา, สิริวัฒน์ วงษ์สิริ และ ไพฑูรย์ เล็กสวัสดิ์. 2544. แมลงและผึ้ง : อาหารของคนไทย. ว.วิทยาศาสตร์. 55(1) : 5-16.
โครงการวิจัยเรื่องการสำรวจแมลงเบียน ของ เพลี้ยไฟในบางท้องที่ของจังหวัดเชียงใหม่ได้รับทุนอุดหนุนจากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ผ่านศูนย์วิจัยป้องกันกำจัดศัตรูพืชโดยชีวินทรีย์แห่งชาติ