1. ชื่อ หน่วยวิจัย ตัวบ่งชี้ทางชีวภาพ
Bioindicators Research Unit
ภาควิชา ชีววิทยา

2. ชื่อผู้ประสานงาน อาจารย์ ดร.วนารักษ์ ไซพันธ์แก้ว

3. สมาชิก
อาจารย์ ดร.สุทธาธร สุวรรณรัตน์
อาจารย์ ดร.สมพร จันทระ

4. ปีที่เริ่มจัดตั้ง 2543

5. กิจกรรมของหน่วยวิจัยที่ได้ดำเนินการในปีที่ผ่านมา

6. ประวัติผลงานที่ผ่านมานับตั้งแต่ก่อตั้งหน่วยวิจัย
Chantara, S. 2001. Quantification of PAHs on Barks of Mango Tree (Mangifera indica L.) to Monitor Air Quality. Global Change and Sustainable Development in Southeast Asia: A Regional Science-Policy Conference17-19 February 2001, Chiang Mai, Thailand

Chantara, S. 2001. Mango Tree Bark as Bioindicator for Air Pollution Monitoring in Chiang Mai City. Proceeding of the 27th Congress on Science and Technology of Thailand, 15 - 18 October. Had Yai, Thailand. 686.

Sutthathorn S. 2001. Ground flora and soil dynamics after teak and pine plantations. Global Change and Sustainable Development in Southeast Asia: A Regional Science-Policy Conference17-19 February 2001, Chiang Mai, Thailand.

โครงการ การใช้ Sporobolomyces spp. ในการตรวจมลพิษทางอากาศในเขตอำเภอเมือง เชียงใหม่ โครงการวิจัยเพื่อพัฒนานักวิจัยรุ่นใหม่ ประจำปี 2543 มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ งบประมาณ 20,000 บาท

7. ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการในปีที่ผ่านมา
งานวิจัยที่เสนอในที่ประชุม
สุทธาธร สุวรรณรัตน์. การใช้ยีสต์สกุล Sporobolomyces เป็นตัวบ่งชี้ทางชีวภาพในการตรวจสอบคุณภาพอากาศในเขตตัวเมืองเชียงใหม่ วทท. ครั้งที่ 28. กรุงเทพมหานคร. 2545

Chantara, S.; Chansribut, W. and Sitthichaiwong, W. 2002. Relationship of Amount of Toxic Blue-green Algae to Water Quality in Mae Kuang Reservoir, Chiang Mai. Proceeding of the 28th Congress on Science and Technology of Thailand, 24-26 October. Bangkok, Thailand. 670.

Oral presentation: "Epiphytic lichens as indicators of environmental health in the vicinity of Chiang Mai City, Thailand" Kunming Field Meeting of Lichenologist, Yunnan, China 16-30 October 2002.

การบูรณาการกิจกรรมร่วมกับการเรียนการสอน
มหาบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากการทำวิจัยทางด้าน bioindicator 2 คน
1.) นส. วรลักษณ์ จันทร์ศรีบุตร งานวิจัยเรื่อง Monitoring of toxic blue green algae related to water quality in Mae Kuang Udomtara Reservoir, 2002. MS thesis (Environmental Science)
2.) นาย ปาลี ทรัพย์ศรี งานวิจัยเรื่อง การใช้ไลเคนเป็นตัวบ่งชี้ทางชีวภาพเพื่อการติดตาม ตรวจสอบภาวะมลพิษทางอากาศในเขตตัวเมือง และนอกเมือง จังหวัดเชียงใหม่ พ.ศ. 2544

8. แผนดำเนินการและผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการด้านต่าง ๆ ในรอบปีที่คาดว่าจะได้รับการต่ออายุ

กิจกรรม
ระยะเวลาดำเนินการ
หมายเหตุ
1. ความหลากหลายของไลเคนและชนิดที่เป็นตัวบ่งชี้ในการตรวจสอบผลกระทบจากกิจกรรมของมนุษย์ในบริเวณที่ลุ่มที่ถูกรบกวนในเขตภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย
1 ปี
ได้รับทุนจาก สกว.
2. การบูรณาการกิจกรรมร่วมกับการเรียนการสอนโดยการผลิตบัณฑิตและมหาบัณฑิตจากงานวิจัยในเรื่องการใช้ตัวบ่งชี้ทางชีวภาพ
1 ปี
-
3. เสนอผลงานวิจัยในที่ประชุมวิชาการ
อย่างน้อย 2 ครั้ง
-

9. ผลของการประเมินในรอบปีที่ผ่านมา
การบูรณาการกิจกรรมร่วมกับการเรียนการสอนโดยการผลิตบัณฑิต (4 คน) และมหาบัณฑิต (2 คน) จากงานวิจัยในเรื่องการใช้ตัวบ่งชี้ทางชีวภาพ
สมาชิกกลุ่มได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยหลังปริญญาเอก จาก สกว. ระยะเวลา 1 ปี เป็นจำนวนเงิน 240,000 บาท