1. ชื่อห้องปฏิบัติการวิจัย

เคมีของข้าว
Rice Chemistry Research Laboratory

ภาควิชา เคมี

2. ชื่อผู้ประสานงาน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สุกัญญา วงศ์พรชัย

3. สมาชิก
3.1 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ศักดิ์ดา จงแก้ววัฒนา (ที่ปรึกษา)
3.2 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สาวิตร มีจุ้ย
3.3 อาจารย์กาญจนา ดำริห์


4. ปีที่เริ่มจัดตั้ง 2545


5. กิจกรรมของห้องปฏิบัติการวิจัยที่ได้ดำเนินการในปีที่ผ่านมา

5.1 ประยุกต์เทคนิคการวิจัยทางเคมี เพื่อศึกษาสารหอม ในเมล็ดข้าวพันธุ์ขาวดอกมะลิ 105 และสารกลุ่ม flavonoids ในเมล็ดข้าวก่ำสายพันธุ์ต่างๆ
5.2 วิจัยเพื่อพัฒนาเทคนิคการวิเคราะห์ทางเคมี ทั้งในเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ ให้ได้เทคนิคที่สามารถประยุกต์ใช้ได้ดีกับการวิเคราะห์ตัวอย่างข้าวจำนวนมาก
5.3 เพื่อถ่ายทอดความรู้เกี่ยวกับเทคนิคการวิเคราะห์ปริมาณสารหอมในข้าวแก่ นักศึกษา นักวิชาการการเกษตรและนักปรับปรุงพันธุ์

6. ประวัติผลงานที่ผ่านมานับตั้งแต่ก่อตั้งห้องปฏิบัติการวิจัย (เรียงลำดับก่อนหลังตามปี พ.ศ.)
6.1 ผลงานตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ
6.2 ผลงานวิจัยที่เสนอในที่ประชุมต่างๆ
6.3 ความร่วมมือกับสถาบันต่างประเทศ
6.4 โครงการวิจัยที่ได้รับทุน (ดูข้อ 7.)


7. ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการในปีที่ผ่านมา

7.1 ผลงานตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ 1 เรื่อง

7.2 ผลงานวิจัยที่เสนอในที่ประชุมต่างๆ

7.3 ความร่วมมือกับสถาบันต่างประเทศ -
7.4 โครงการวิจัยที่ได้รับทุน

7.5 การให้บริการวิชาการ

7.6 บูรณาการกิจกรรมร่วมวิจัยกับการเรียนการสอน


8. แผนดำเนินการและผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการด้านต่างๆ ในรอบปีที่คาดว่าจะได้รับการต่ออายุ

แผนงาน
ผลสัมฤทธิ์ที่คาดว่าจะได้รับ

1. งานวิจัย

  • การประยุกต์เทคนิค Headspace gas chromato graphy ในการตรวจวัดปริมาณสารหอมในข้าว
  • การศึกษา flavonoids ในข้าวแดงบางพันธุ์ด้วยเทคนิค liquid chromatography - mass spectrometry (LC-MS)
  • ผลของการลดความชื้นด้วยอุณหภูมิและระยะเวลาการเก็บรักษาต่อคุณภาพความหอม สมบัติทางเคมีและสมบัติทางกายภาพของข้าวกล้องพันธุ์ขาวดอกมะลิ 105

1. งานวิจัย

  • ตีพิมพ์ผลงานวิจัยในวารสารวิชาการอย่างน้อย 2 เรื่อง
  • เสนอผลงานวิจัยในที่ประชุมระดับประเทศอย่างน้อย 2 เรื่อง

2. การให้บริการวิชาการ

  • จัดการฝึกอบรมเรื่อง "สารให้ความหอมในเมล็ดพันธุ์ข้าวหอมและวิธีการหาปริมาณ" แก่นักวิชาการเกษตร เกษตรกร และผู้ที่เกี่ยวข้อง

 

2. การให้บริการวิชาการ

  • ถ่ายทอดความรู้เกี่ยวกับเทคนิคการวิเคราะห์ปริมาณสารหอมในข้าวแก่ นักศึกษา นักวิชาการการเกษตรและผู้เกี่ยวข้องได้นำไปประยุกต์ใช้ต่อไป

3. บูรณาการกิจกรรมร่วมวิจัยกับการเรียนการสอน

  • ทุนอุดหนุนการวิจัยสามารถสนับสนุนงานวิจัยของนักศึกษาระดับปริญญาโท 2 คน

3. บูรณาการกิจกรรมร่วมวิจัยกับการเรียนการสอน

  • วิทยานิพนธ์นักศึกษาระดับปริญญาโท 2 คน