1. ชื่อห้องปฏิบัติการ หน่วยวิจัยการฟื้นฟูป่า
Forest Restoration Research Unit Laboratory
ภาควิชา ชีววิทยา

2. สมาชิก

1. Dr. Stephen Elliott (aquarius99@hotmail.com) ผู้ประสานงานห้องปฏิบัติการวิจัย
2. รศ. ดร. วิไลวรรณ อนุสารสุนทร (scboi012@chiangmai.ac.th ) สมาชิก
3. Mr. J.F. Maxwell (scopplrn@chiangmai.ac.th) สมาชิก
4. นางปราณี ปาลี (ppalee@hotmail.com) สมาชิก
5. นายพุฒิพงศ์ นวกิจบำรุง (navakitp@hotmail.com) สมาชิก
6. นายเชิดศักดิ์ เกื้อรักษ์ สมาชิก
7. นายเกริก ผักกาด (g4265301@cm.edu) สมาชิก
8. นางสาวเนตรนภิศ จิตแหลม (njitlam@hotmail.com) สมาชิก
9. นางสาวรุ่งทิวา ปัญญายศ สมาชิก

3. หลักการและเหตุผล
เนื่องจากการทำลายป่าเป็นปัญหาที่เกิดขึ้นในประเทศไทย นับตั้งแต่ปี 2503 เป็นต้นมา ป่าไม้ในประเทศไทยได้ถูกทำลายไปในอัตราที่สูงมาก โดยเฉพาะในเขตจังหวัดเชียงใหม่แห่งเดียว ในช่วงปี 2518-2528 การทำลายป่าได้เพิ่มขึ้น 2 เท่า ฉะนั้นจึงมีโครงการที่จะปลูกป่าเกิดขึ้นหลายโครงการ แต่การปลูกป่าใหม่มีแนวโน้มในการปลูกไม้อย่างใดอย่างหนึ่งเพียงชนิดเดียว เช่น ป่ายูคาลิบ เป็นต้น เพื่อที่จะนำมาใช้ในทางเศรษฐกิจ การปลูกป่าเช่นนี้จะช่วยแก้ปัญหาในเรื่องของความแห้งแล้ง การขาดแคลนน้ำ การเปลี่ยนแปลงของบรรยากาศที่เลวลงไปไม่ได้มากนัก ปัญหาคือจะทำอย่างไรจึงจะทำให้ป่ากลับคืนชีพ มีจำนวนพันธุ์ไม้นานาชนิดมากมายเหมือนเดิม เพื่อจะให้ระบบนิเวศกลับไปสู่ความสมดุลย์ตามธรรมชาติเหมือนสมัย 30-40 ปีที่ผ่านมา โดยเฉพาะบริเวณดอยอินทนนท์และดอยสุเทพซึ่งปัจจุบันอยู่ในชุมชนล้อมรอบ จากการรายงานของกรมป่าไม้ (สันติสุข และคณะ, 2534) ว่าขณะนี้มีความรู้และข้อมูลที่จำเป็นในการจัดการกับป่าไม้ในเมืองไทยยังขาดอยู่มาก ไม่ว่าจะเป็นในด้านของผลิตภัณฑ์ที่มาจากป่าหรือการอนุรักษ์แหล่งพืชพรรณหรือนิเวศของสัตว์ จุดประสงค์ของการจัดตั้งห้องปฏิบัติการนี้เพื่อจะเผยแพร่และสร้างงานวิจัยที่เกี่ยวกับการฟื้นฟูป่าธรรมชาติ ไม่ว่าจะเป็นในด้านของผลิตภัณฑ์ที่มาจากป่าหรือการอนุรักษ์แหล่งพืชพรรณหรือนิเวศของสัตว์ จุดประสงค์ของการจัดตั้งห้องปฏิบัติการนี้เพื่อจะเผยแพร่และสร้างงานวิจัยที่เกี่ยวกับการฟื้นฟูป่าธรรมชาติ
โครงการวิจัยการฟื้นฟูป่านี้ เป็นโครงการร่วมกันระหว่าง ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่และที่ทำการอุทยานแห่งชาติดอยสุเทพ-ปุย โดยบริษัทริชมอนเด้ (กรุงเทพฯ) จำกัด ได้ให้ความสนับสนุนในด้านการเงิน ให้จัดสร้างอาคารทดลองเพาะเมล็ด ตลอดจนอุปกรณ์ที่ใช้ในงานนี้ และเงินเดือนจ้างนักวิจัยและผู้ช่วยวิจัยจำนวน 8 คน ในระยะเวลา 3 ปี ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2537-2540 และจากปัญหาทางด้านเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นทำให้บริษัทริชมอนเด้หยุดการสนับสนุนด้านเงินทุน ในต้นปี พ.ศ. 2541 คณะผู้วิจัยได้ขอทุนสนับสนุนจากโครงการพัฒนาองค์ความรู้และศึกษานโยบายการจัดการทรัพยากรชีวภาพในประเทศไทยเป็นเวลา 3 ปี คือ พ.ศ. 2541-2544 และได้รับการสนับสนุนต่อเนื่องอีกก 3 ปี คือ พ.ศ. 2544-2547 และได้รับทุน Dawin Initiative สนับสนุนด้านการเผยแแพร่ความรู้ที่ได้จากการศึกษาและวิจัยของหน่วยวิจัยการฟื้นฟูป่าเป็นระยะเวลา 3 ปี ตั้งแต่ พ.ศ. 2545 ถึง พ.ศ. 2548

4. วัตถุประสงค์และเป้าหมาย
1. พัฒนาเครื่องมือในการศึกษาและส่งเสริมให้เกิดการฟื้นฟูระบบนิเวศของป่าธรรมชาติ
2. ทำการวิจัยเพื่อเสาะแสวงหากระบวนการทางนิเวศวิทยาในการฟื้นตัวของป่าธรรมชาติเพื่อหาวิธีต่าง ๆ ที่อาจจะเร่งให้กระบวนการเหล่านี้เกิดขึ้นได้เร็ว
3. ระบุชื่อ ชนิดของพรรณไม้ยืนต้นที่เหมาะสมในการนำไปปลูกเพื่อสมทบกับไม้ที่ขึ้นเองตามธรรมชาติ
4. พัฒนาเทคนิคทางวนวัฒวิทยาที่เหมาะสมเพื่อให้ต้นไม้ที่นำไปปลูกเจริญอย่างมีประสิทธิภาพที่สุด
5. ให้เกิดการฝึกอบรมให้กับกลุ่มที่สนใจในการนำเทคนิคใหม่ ๆ ไปใช้ในการฟื้นฟูป่า ซึ่งทางหน่วยวิจัยฯได้พัฒนาขึ้นมา

5. งานวิจัยที่กำลังดำเนินการอยู่
การทดลองเพาะเมล็ดของพืชป่า โดยการทดลองกระตุ้นให้เมล็ดงอกโดยวิธีต่าง ๆ เนื่องจากเมล็ดของพืชบางชนิดจะไม่งอกเมื่อนำมาเพาะตามวิธีปกติ ปัจจุบันสามารถเพาะเมล็ดให้งอกได้มากกว่า 385 ชนิด นอกจากนั้น ยังได้ร่วมมือกับชุมชนบ้านป่าซ้อ อ. แม่สรวย จ. เชียงราย เกี่ยวกับการฟื้นฟูป่าบริเวณใกล้หมู่บ้าน
ข้อมูลที่ได้จากการศึกษาสัณฐานวิทยาของผลและเมล็ดและการงอกของเมล็ดได้นำมาเก็บเป็นฐานข้อมูล ซึ่งสามารถจะเชื่อมโยงกับฐานข้อมูลของหอพรรณไม้ ทำให้ได้ภาพรวมของฐานข้อมูลที่สมบูรณ์ของพรรณไม้ ในอุทยานแห่งชาติดอยสุเทพ-ปุย
การนำกล้าไม้ที่เพาะชนิดที่เป็นพรรณไม้โครงสร้างลงปลูกในแปลงทดลองที่หมู่บ้านแม่สาใหม่ อำเภอ
แม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ โครงการนี้ได้รับทุนสนับสนุนจาก โครงการพัฒนาองค์ความรู้และศึกษานโยบายการจัดการทรัพยากรชีวภาพในประเทศไทย (BRT) ชื่อโครงการ "การติดตามตรวจสอบระยะยาวของการฟื้นตัวของความหลากหลายทางชีวภาพในแปลงฟื้นฟูป่าในภาคเหนือของประเทศไทย" งบประมาณที่ได้รับ 2,000,000.00 บาท ตั้งแต่ กันยายน 2544 - สิงหาคม 2547
โดยการสนับสนุนของ Darwin Initiative (UK) ทำให้สามารถจัดจ้างเจ้าหน้าที่การศึกษา จำนวน 4 คน เพื่อนำข้อมูลที่ได้จากการศึกษาและวิจัยเผยแพร่ความรู้สู่นักเรียน นักศึกษา เจ้าหน้าที่ของรัฐ หน่วยงานเอกชน และกลุ่มผู้ที่สนใจอื่น ๆ

6. อุปกรณ์ที่มีอยู่แล้ว
1. อุปกรณ์พื้นฐานที่ใช้ในการออกสนาม เช่น เข็มทิศ เครื่องวัดระดับความสูง ฯลฯ
2. เครื่องมือวัดความชื้นของดิน
3. เครื่องวัดความสูงของต้นไม้
4. คอมพิวเตอร์

7. ผลสัมฤทธิ์ทางการวิจัยตั้งแต่ปี 1996 จนถึงปัจจุบัน
7.1 การจัดประชุมเชิงปฏิบัติการในระดับภูมิภาคเรื่อง"การฟื้นฟูป่าเพื่อการอนุรักษ์สัตว์ป่าและพืชพรรณ" ระหว่างวันที่ 30 มกราคม - 4 กุมภาพันธ์ 2543 ที่โรงแรมธาริน เชียงใหม่ (ดูรายชื่อผู้เข้าร่วมประชุมที่แนบมา)
7.2 รางวัลรองชนะเลิศเข็มนากกิจกรรมบำรุงรักษาต้นไม้ (ป่าบก) ประเภทพื้นที่อนุรักษ์ที่เสื่อมโทรม (FPT 82/4) ปี 2543 ในการประกวดแปลงปลูกป่าถาวรเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จกระเจ้าอยู่หัว เนื่องในวโรกาสทรงครองราชย์ครบรอบปีที่ 50
7.3 ได้รับรางวัล 1 ใน 15 งานวิจัยเด่นของสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ปี พ.ศ. 2544 ในด้านงานวิจัยฝ่ายสวัสดิภาพสาธารณะในเรื่อง "การฟื้นฟูระบบนิเเวศของป่าธรรมชาติ"

8. ผลงานตีพิมพ์เผยแพร่
Elliott. 1997. Forest restoration research in northern Thailand; 2 The fruits, seeds and seedlings of Gluta ELLIOTT, S. S. KOPACHON, K. SURIYA, S. PLUKUM, G. PAKAAD,
P. NAVAKITBUMRUNG, J. F. MAXWELL, V. ANUSARNSUNTHORN, N. C. GARWOOD andD. BLAKESLEY, 1997. Forest restoration research in northern Thailand: 2. The fruits, seeds
and seedlings of Gluta usitata (Wall.) Hou (Anacardiaceae). Nat. Hist. Bull. Siam Soc. 45:205-215.
Elliott, S., D. Blakesley, V. Anusarnsunthorn, J.F. Maxwell, G. Pakaad and P. Navakitbumrung, 1997. Selecting species for restoring degraded forests in northern Thailand. Paper presented at the Workshop on Rehabilitation of Degraded Tropical Forest Lands, 3-7 February 1997, Kuranda, Australia.
Navakitbumrung, P., S. Elliott and V. Anusarnsunthorn, 1997. The Forest Restoration Research Unit. Paper presented at Seminar on Buffer Zones; A Strategy towards Suatainable Forest Management". Khon Kaen, 28-30/1/97 (in Thai).
Blakesley, D., and S. Elliott, in press. Restoration of deforested land in protected areas of northern Thailand. In: Warhurst, A. (Ed.) Towards an Environmental Research Agenda. Macmillan, in press.
Blakesley, D., S. Elliott and V. Anusarnsunthorn. 1998. Low technology tree propagation and the restoration of nature forest ecosystem. In Davey, M.R., P.G. ANDERSON, K.C. LOWE and J.B. Power (Eds), tree Biotechnology: toward the milennium. Nottingham University Press, 350 pp.
Hardwick, K. J. Healey, S. Elliott, N. C. Garwood and V. Anusarnsunthorn. 1998. Understanding and assisting natural regeneration processes in degraded seasonal evergreen forests in northern Thailand. Forest Ecology and Management, 99: 203-241.
Elliott, S. S. Kopachon, K. Suriya, S. Plukum, G. Pakaad, P. Navakitbumrung, J. F. Maxwell, V. Anusarnsunthorn, N. C. Garwood and D. Blakesley, 1997. Forest restoration research in northern Thailand: 2. The fruits, seeds and seedlings of Gluta usitata (Wall.) Hou (Anacardiaceae). Nat. Hist. Bull. Siam Soc. 45:205-215.
Forest Restoration Researcher Unit, 1998. Forests for the future: growing and planting native trees for restoring forest ecosystems. Biology Department, Science Faculty, Chiang Mai University, Thailand. Edited by Elliott, S., D. Blakesley and V. Anusarnsunthorn.
Elliott, S., P. Navakitbumrung, S. Zangkum, C. Kuarak, J. Kerby, D. Blakesley and V. Anusarnsunthorn, 1999. Effects of fertilizer on the performance of six native tree species, planted to accelerate the recovery of biodiversity in a degraded upland watershed. In "Research reports on Biodiversity in Thailand", published by the Biodiversity Research and Training Program (BRT), Bangkok.
Panatkul, M., S. Elliott and V. Anusarnsunthorn, 1999. Diversity of ground flora along Mae Mon Stream, altitude 475 to 575 m at Chae Son National Park, Lampang Province. In "Research reports on Biodiversity in Thailand", published by the Biodiversity Research and Training Program (BRT), Bangkok.
Pakkad, G., S. Elliott, J. F. Maxwell and V. Anusarnsunthorn, 1999. Morphological database of fruits and seeds of trees in Doi Suthep-Pui National Park. In "Research Reports on Biodiversity in Thailand", published by the Biodiversity Research and Training Program (BRT), Bangkok.
Blakesley, D., J. A. McGregor and S. Elliott, 2000. Forest restoration research in conservation areas in northern Thailand. Restoration of deforested land in protected areas of northern Thailand. Pp 262-275, chapter 12 in: Warhurst, A. (Ed.) Towards a collaborative Environmental Research Agenda: Challenges for Business and Society. Macmillan Press Ltd., London, 300 pp.
Forest Restoration Research Unit, 2000. Tree Seeds and Seedlings for Restoring Forests in Northern Thailand. Biology Department, Science Faculty, Chiang Mai University, Thailand. Edited by Kerby, J., S. Elliott, J. F. Maxwell, D. Blakesley and V. Anusarnsunthorn.
Forest Restoration Research Unit, 2000. Forest Restoration for Wildlife Conservation. Biology Department, Science Faculty, Chiang Mai University, Thailand. Edited by Elliott, S., J. Kerby, K. Hardwick, K. Woods and V. Anusarnsunthorn.
Elliott, S., P Navakitbumrung, C Kuarak, S Zangkum, D Blakesley and V. Anusarnsunthorn, (2001) Testing framework species for restoring biodiversity on degraded forestland in northern
Thailand. In: BRT Research Reports 2001, The Biodiversity Research and Training Program, Bangkok. pp 210-217
Elliott, S., P Navakitbumrung, C Kuarak, S Zangkum, D Blakesley and V Anusarnsunthorn (2002)
Testing framework tree species for restoring biodiversity on degraded forestland in northern Thailand. In 'Tropical Forestry Symposium 2001: The Art and Practice of Conservation
Planting' (eds C Chien and R Rose) Taiwan Forestry Research Institute, Taipei. pp 215-222.
Elliott, S. and D. Blakesley, 2002. Reaping the rewards of reforestation. Guidelines 9(12):24-32.
Elliott, S., C. Kuarak, P. Navakitbumrung, S. Zangkum, V. Anusarnsunthorn and D. Blakesley, 2002. Propagating framework trees to restore seasonally dry tropical forest in northern
Thailand. New Forests 23:63-70.
Blakesley, D., S. Elliott, C. Kuarak, P. Navakitbumrung, S. Zangkum, and V. Anusarnsunthorn, 2002. Propagating framework tree species to restore seasonally dry tropical forest:
implications of seasonal seed dispersal and dormancy. Forest Ecology and Management 164:31-38.
ELLIOTT, S., C. KUARAK, P. NAVAKITBUMRUNG, S. ZANGKUM, and V. ANUSARNSUNTHORN, 2002. Propagating framework tree species to restore seasonally dry tropical forest: implications of seasonal seed dispersal and dormancy. Forest Ecology and Management 164:31-38.
BLAKESLEY, D., K. HARDWICK, and S. ELLIOTT, 2002. Research needs for restoring tropical forests in Southeast Asia for wildlife conservation: framework species selection and seed propagation. New Forests 24(3):165-174
PAKKAD, G., S. ELLIOTT, V. ANUSARNSUNTHORN, C. JAMES and D. BLAKESLEY, 2002. Forest restoration planting in northern Thailand. Pp 143 - 153 in Koskela, S, S. Appanah, A. P.
Anderson and M. D. Markopoulos (Eds.) Proceedings of the Southeast Asian Moving Workshop on Conservation, Management and Utilization of Forest Genetic Resources.
FORSPA, Bangkok.
VONGKAMJAN, S., S. ELLIOTT, V. ANUSARNSUNTHORN and J. F. MAXWELL, 2002. Propagation of native forest tree species for forest restoration in northern Thailand. Pp 175-183 in Chien, C. and R. Rose (eds.) The Art and Practice of Conservation Planting. Taiwan Forestry Research Institute, Taipei.