1. ชื่อห้องปฏิบัติการวิจัย ต่อมไร้ท่อวิทยา
Endocrinology Research Laboratory
ภาควิชา ชีววิทยา
2. ผู้ประสานงาน รศ. ดร. ทิพวรรณ สิงห์ไตรภพ

3. สมาชิก
รศ. สมศักดิ์ วนิชาชีวะ
อาจารย์ บุญเกตุ ฟองแก้ว
อาจารย์ ระวิวรรณ ลาชโรจน์

4. ปีที่เริ่มจัดตั้ง ปี พ.ศ. 2537

5. กิจกรรมของห้องปฏิบัติการที่ได้ดำเนินการในปีที่ผ่านมา
1. ได้จัดหาทุนสำหรับโครงการแลกเปลี่ยนนักศึกษาเพื่อไปหาประสพการณ์การในการทำวิจัยในต่างประเทศ ปีละ 1 ทุน
2. ได้ร่วมดำเนินงานวิจัยกับหน่วยวิจัยอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับด้านต่อมไร้ท่อวิทยาทั้งในประเทศและต่างประเทศ
3. ได้เสนอผลงานวิจัยทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ 4 เรื่อง
4. ได้เสนอผลงานตีพิมพ์ในวารสารต่างประเทศ 2 เรื่อง
5. ได้รับนักศึกษาเข้ามาทำวิจัยในหัวข้อปัญหาพิเศษและวิทยานิพนธ์ จำนวนทั้งสิ้น 8 คน

6.ประวัติผลงานที่ผ่านมานับตั้งแต่ก่อตั้งห้องปฏิบัติการวิจัย
6.1 งานวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ

 

1. Singtripop, T., Wanichacheewa, S., Tsuzuki, S and Sakurai, S. 1999. Larval growth and diapause in a tropical moth, Omphisa fuscidentalis Hampson, Zool. Sci. 16:725-733. ISSN 0.969
2. Singtripop, T., Wanichacheewa, S and Sakurai, S. 2000. Juvenile hormone-mediated termination of larval diapause in the bamboo borer, Omphisa fuscidentalis, Insect Biochemistry and
Molecular Biology 30: 847-854. ISSN 1.920
3. Wanichacheewa, S., Singtripop, T., Sassa, S., Sakamoto, S. and Mori, T. 2001 Decrease in the number of sperm associated with decreased blood testosterone levels in male rats treated with extracts from seven plants consumed by natives of northern Thailand. Environmental Toxicology and Pharmarcology. 10:1-4. ISSN 1.071

6.2 บทความงานวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสารและหนังสือพิมพ์

 


1. เรื่อง " ชีวิตอัศจรรย์ของหนอนรถด่วน " วารสาร Update ปีที่ 15 ฉบับที่ 157 กันยายน 2543 หน้าที่ 62-64
2. เรื่อง " อัศจรรย์หนอนรถด่วน: เมนูเด็ดดึงใจนักท่องเที่ยว " หนังสือพิมพ์มติชนรายวัน ฉบับวันที่ 18 กันยายน 2543 หน้าที่ 12
3. เรื่อง " หนอนเยื่อไผ่ผลผลิตจากผีเสื้อชาวบ้านจับขายกิโลเป็นร้อยคนในเมืองเรียก รถด่วนทอด " ข่าวสดเกษตร หนังสือพิมพ์ข่าวสด ฉบับวันที่ 19 กันยายน 2543 หน้าที่ 29
4. เรื่อง " ชีวิตอัศจรรย์ของหนอนรถด่วน " หนังสือพิมพ์ Excite ไทยโพสต์ ฉบับวันที่ 18 สิงหาคม 2543 หน้าที่ 22
5. เรื่อง " ขึ้นเหนือกินหนอนรถด่วน " ทิศทางเกษตร หนังสือพิมพ์เดลินิวส์ ฉบับวันที่ 8 มกราคม 2544 หน้าที่ 31
6. เรื่อง " จาก 9 เดือนสู่ 3 สัปดาห์ใช้ฮอร์โมนเร่งวงชีวิตหนอนรถด่วน" แมลงเศรษฐกิจ วารสารมติชนบทเทคโนโลยีชาวบ้าน ฉบับวันที่ 1 ตุลาคม 2544 ปี ที่ 14 ฉบับที่ 272 หน้า 78-80
7. เรื่อง " มหัศจรรย์หนอนรถด่วน จากด่วนธรรมดาเป็นด่วนพิเศษ" หนังสือพิมพ์เดลินิวส์ ฉบับวันที่ 18 กันยายน 2544 หน้าที่ 8
8. เรื่อง "เร่งวงจรชีวิตหนอนรถด่วนหดสั้นเหลือแค่ 2-3 สัปดาห์" หนังสือพิมพ์ไทยรัฐ ฉบับวันที่ 16 กันยายน 2544 หน้าที่ 16
9. เรื่อง " Creepy-crawly cuisine" Outlook. หนังสือพิมพ์ Bangkok Post ฉบับวันที่ 24 September 2001 หน้าที่ 1

6.3 ผลงานวิจัยที่เสนอในการประชุมระดับชาติ

 


1. Singtripop, T., Nettagul, A., Saejung, W. and Wanichacheewa, S. 1997. Study of morphology of the bamboo borer(Omphisa fuscidentalis Hampson) by stereomicroscope and scanning
electron microscope. The 23 th Science and Technology Conference of Thailand, October, Lotus Pang Suan Kaew Hotel, Chiang Mai.
2 . Nettakul, A. and Singtripop, T. 1998. Effects of juvenile hormone on the termination of larval diapause of the bamboo borer, Omphisa fuscidentalis Hampson. The 24th Science and Technology
Conference of Thailand, October 19-22, Bangkok.
3. Wanichacheewa, S. and Sinpitak, P. 1998, Effects of aqueous extracts from seeds of Cockcomb (Celosia argentea Linn.) on the reproductive system of male rat. The 24th Science and Technology Conference of Thailand, October 19-22, Bangkok.
4. Singtripop, T. and Sakurai, S. 1999. Roles of juvenile hormone analogue on the larval diapause termination on bamboo borer, Omphisa fuscidentalis Hampson (Pyralidae, Lepidoptera). The
1st HSA Symposium on Science and Technology. October 23-25, Lotus Pang Suan Kaew Hotel, Chiang Mai.

6.4 ผลงานวิจัยที่เสนอในการประชุมระดับนานาชาติ

 


1. Singtripop, T., Wanichacheewa, S., Sakurai, S., Kawashima, S. 1997 Physiological of larva diapause in the bamboo borer, Omphisa fuscidentalis Hampson. The 13th International
Congress of Comparative Endocrinology, Yokohama, Japan.
2. Singtripop, T., Wanichacheewa, S., Sakurai, S. 1998. Larval diapause of the bamboo borer, Omphisa fuscidentalis Hampson. The Annual Conference of Japan Zoological Society,
Hiroshima Japan.
3. Singtripop, T., Wanichacheewa, S.,Sakurai, S. 1999. Break of larval diapause by juvenile hormone analog in the bamboo borer, Omphisa fuscidentalis Hampson (Pyralidae,
Lepidoptera). The Seventh International Conference on the Juvenile Hormones, Jerusalem, Israel.
4. Singtripop, T., Wanichacheewa, S., Sakurai, S. 1999. Termination of larval diapause of the bamboo borer, Omphisa fuscidentalis with juvenile hormone analogue. The Annual
Conference of Japan Zoological Society,Yamagata, Japan.
5. Singtripop, T. and Sakurai, S. 2000. Deepness of larval diapause in Omphisa fuscidentalis: estimation by responsiveness to juvenile hormone and 20-Hydroxyecdysone, The 25th
Annual Conference of Japan Zoological Society, Noto, Japan .
6. Tungitwitayakul, J., Nettagul, A., Singtripop, T., Oda, Y and Sakurai, S. 2000. Purification, characterization and development profiles of the storage protein SP1 and SP 2 in the bamboo
borer, Omphisa fuscidentalis Hampson. Zoological Science Meeting of Japan, October,
Tokyo, Japan.
7. Singtripop, T., Manaboon, M and Sakurai, S.2001. Hormonal mechanisms underlying diapause break by juvenile hormone in the bamboo borer, Omphisa fuscidentalis.,The 72 th Annual
Meeting of the Zoological Society of Japan. Fukuoka, Japan,Oct. 6-8, Zoological Science, 18: 21.

6.5 ความร่วมมือกับสถาบันต่างๆทั้งในประเทศและต่างประเทศ
- ความร่วมมือทางวิชาการและงานวิจัยกับห้องปฏิบัติการชีวเคมี มหาวิทยาลัยรามคำแหง
- ความร่วมมือทางวิชาการและงานวิจัยกับห้องปฏิบัติการ Developmental Biology มหาวิทยาลัย คานาซาวา ประเทศญี่ปุ่น
- สัญญาความร่วมมือระหว่างคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัย คานาซาวา ประเทศญี่ปุ่น 2541-2545


6.6 โครงการวิจัยที่ได้รับทุน

 


1. ทุนสนับสนุนห้องปฏิบัติการวิจัยของคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เป็นรายปีๆ ละ ประมาณ 10,000.- บาท
2. ทุนวิจัยฮิตาชิ ( Hitachi Research Grant ) จากบริษัทฮิตาชิ ประเทศญี่ปุ่น เป็นเวลา 2 ปี ( พ.ศ. 2538-2539)
ชื่อโครงการวิจัย คือ Study of Morphology, Nutrient Contents and Physiological Characteristics of the Bamboo Borer, Omphisa fuscidentalis Hampson
3. ทุนวิจัยหลังปริญญาเอก ของสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย ประเทศไทย เป็นเวลา 2 ปี (พ.ศ. 2540-2541)
ชื่อโครงการวิจัยคือ การศึกษาความหลากหลายของหนอนเยื่อไผ่ (Omphisa sp.) โดยใช้ DNA Finger printing technique
4. ทุนวิจัยฮิตาชิ ( Hitachi Research Grant ) จากบริษัทฮิตาชิ ประเทศญี่ปุ่น เป็นเวลา 2 ปี ( พ.ศ. 2541-2543)
ชื่อโครงการวิจัยคือ Physiology of the Larval Diapause of the Bamboo Borer, Omphisafuscidentalis Hampson
5. ทุนวิจัยฮิตาชิ ( Hitachi Research Grant ) จากบริษัทฮิตาชิ ประเทศญี่ปุ่น เป็นเวลา 2 ปี ( พ.ศ. 2544-2545)
ชื่อโครงการวิจัยคือ Hormonal Mechanisms Underlying Maintenance and Break of Larval Diapause of Bamboo Borer, Omphisa fuscidentalis
6. ทุนสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ เป็นเวลา 2 ปี ( พ.ศ 2543-2545)
ชื่อโครงการวิจัยคือ การทดสอบความเป็นพิษของสารสะกัดจากสมุนไพรบางชนิดที่เป็นสารกำจัดศัตรูพืช

7. ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการในปีที่ผ่านมา
7.1 . ผลงานตีพิมพ์ในวารสารวิชาการต่างประเทศ
Singtripop, T., Tungjitwitayakul, J, and Sakurai, S. 2002. Intensity of larval diapause in the bamboo borer, Omphisa fuscidentalis, Zoological Science 19:577-582. ISSN 0.969
Tippawan Singtripop, Yasunori Oda, Somsak Wanichacheewa, Sho Sakurai. 2002 Sensitivities to juvenile hormone and ecdysteroid in the diapause larvae of Omphisa fuscidentalis based on the hemolymph trehalose dynamics index. Journal of Insect Physiology 48: 817-824. ISSN 1.468

7.2 ผลงานวิจัยที่เสนอในที่ประชุมต่างๆ
Saengsakda, M. and Singtripop, T. 2002. Effect of juvenile hormone on the oxygen consumption in the larval diapause of the bamboo borer, Omphisa sp. The 28th Science and Technology Conference of Thailand, October, Bangkok.
Manaboon, M. and Singtripop, T. 2002 Juvenile hormone activation of the prothoracic gland of the bamboo borer larval diapause through an ultra short loop positive feed back by ecdysteroid. The 28th Science and Technology Conference of Thailand, October, Bangkok.
Singtripop, T. and Sakurai, S. 2002. Responsiveness of prothoracic gland to PTTH in diapausing larva of the bamboo borer, Omphisa sp. Invertebrate Neuropeptide Conference, 6-11 Jan, Hua Hin, Prachuap Province, Thailand.
Manaboon, M., Singtripop, T., Kaneko, Y., Takaki, K. and Sakurai, S . 2002. Endocrine mechanisms to maintain the larval diapause in the bamboo borer, Omphisa fuscidentalis. Zoological Science Conference, September, Kanazawa, Japan.

7.3 ความร่วมมือกับสถาบันต่างประเทศ
- ความร่วมมือทางวิชาการและงานวิจัยกับห้องปฏิบัติการชีวเคมี มหาวิทยาลัยรามคำแหง
- ความร่วมมือทางวิชาการและงานวิจัยกับห้องปฏิบัติการ Developmental Biology มหาวิทยาลัย คานาซาวา ประเทศญี่ปุ่น
- สัญญาความร่วมมือระหว่างคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัย คานาซาวา ประเทศญี่ปุ่น 2546-2550

7.4 โครงการวิจัยที่ได้รับทุน
ทุนพัฒนานักวิจัย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย ประเทศไทย เป็นเวลา 2 ปี (พ.ศ. 2544-2546)
ชื่อโครงการวิจัยคือ Roles of Juvenile Hormone on the Development of the Larval Diapause of Bamboo Borer, Omphisa sp.)

7.5 การบริการวิชาการ
ให้คำปรึกษาแก่ชาวบ้าน และบริษัทต่างๆ ที่สนใจการเพาะเลี้ยงหนอนเยื่อไผ่ ทั้งการติดต่อโดยตรง และทางโทรศัพท์

7.6 กิจกรรมวิจัยร่วมกับการเรียนการสอนของนักศึกษา

รายชื่อนักศึกษา
ระดับ
หัวข้อปัญหาพิเศษ/ วิทยานิพนธ์
น.ส ทิพวรรณ ยะสง่า
ปริญญาตรี
ีการกระตุ้นการเกิด programmed cell death ของ oil tube ของหนอนเยื่อไผ่
น.ส พิมลพรรณ เสรีวัฒนาชัย
ปริญญาตรี
บทบาทของฮอร์โมนจูวีไนล์ต่อการเจริญเปลี่ยนแปลงของอัณฑะในหนอนเยื่อไผ่ (Omphisa fuscidentalis Hampson)
นายภูวดล เชื้อผู้ดี
ปริญญาตรี
ผลของฮอร์โมนจูวีไนล์ต่อการเปลี่ยนแปลงของปริมาณไขมัน โปรตีน และไกลโคเจนในหนอนเยื่อไผ่
น.ส มนพร มานะบุญ
ปริญญาโท
กลไกของฮอร์โมนต่อการสิ้นสุดของระยะลาร์วัลไดอะพอสในหนอนเยื่อไผ่(Omphisa fuscidentalis Hampson)
น.ส มนัสวัณฏ์ แสงศักดา
ปริญญาโท
ความสัมพันธ์ของอัตราการใช้ออกซิเจนและการเปลี่ยนแปลงของเอนไซม์ Cytochrome C Oxidase ในหนอนเยื่อไผ่ระยะลาร์วัลไดอะพอส
น.ส วิมลา ดีแท้
ปริญญาโท
ผลของสารสะกัดโด่ไม่รู้ล้ม(Elephantopus scaber Linn.) และตะโกนา(Diospyros rhodocalyx Kurz.) ต่อสมรรถภาพทางเพศในหนูขาวเพศผู้

8. แผนดำเนินการและผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการด้านต่างๆในรอบปีที่คาดว่าจะได้รับการต่ออายุ
งานวิจัยหลักที่กำลังดำเนินการอยู่คือ
1. บทบาทของฮอร์โมนจูวีไนล์ต่อการเจริญของหนอนเยื่อไผ่ระยะไดอะพอส (Roles of juvenile hormone on the development of the larval diapause of bamboo borer, Omphisa sp.)
2. กลไกของฮอร์โมนในการควบคุมและสิ้นสุดของหนอนเยื่อไผ่ระยะไดอะพอส (Hormonal mechanisms underlying maintenance and break of larval diapause of bamboo borer, Omphisa fuscidentalis)
3. การทดสอบความเป็นพิษของสารสะกัดจากสมุนไพรบางชนิดที่เป็นสารกำจัดศัตรูพืช(เป็นส่วนหนึ่งของการวิจัยเรื่อง " การพัฒนาประสิทธิภาพสารสะกัดจากสมุนไพรบางชนิดที่เป็นสารกำจัดศัตรูพืช: Improvement of the efficiency of the medicinal plant extracts for pedicide use)

ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการด้านต่างๆในรอบปีที่คาดว่าจะได้รับการต่ออายุ
1. ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยอย่างต่อเนื่อง
2. ได้จัดหาทุนสำหรับโครงการแลกเปลี่ยนนักศึกษาเพื่อไปหาประสพการณ์การในการทำวิจัยในต่างประเทศ ปีละ 1 ทุน
3. ได้ร่วมดำเนินงานวิจัยกับหน่วยวิจัยอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับด้านต่อมไร้ท่อวิทยาทั้งในประเทศและต่างประเทศ
4. มีเสนอผลงานวิจัยทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ 4 เรื่อง
5. มีผลงานตีพิมพ์ในวารสารต่างประเทศ 2 เรื่อง