1. ชื่อห้องปฏิบัติการวิจัย ปรสิตวิทยา
(Parasitology)
ภาควิชา ชีววิทยา

2. ชื่อผู้ประสานงาน ผศ.ดร.ชโลบล วงศ์สวัสดิ์

3. สมาชิก
3.1 อาจารย์ฉมาภรณ์ นิวาศะบุตร สมาชิก
3.2 อาจารย์พีระวุฒิ วงศ์สวัสดิ์ สมาชิก
3.3 อาจารย์สุภาพ แสนเพชร สมาชิก
3.4 นายธนู มะระยงค์ สมาชิก
3.5 นายสบชัย สุวัฒนคุปต์ สมาชิก
3.6 นางจรรยา เทพรัตน์ สมาชิก

4. ปีที่เริ่มจัดตั้ง พ.ศ. 2537

5. กิจกรรมของห้องปฏิบัติการที่ได้ดำเนินการในปีที่ผ่านมา
5.1 เสนอผลงานในการประชุมวิชาการ วทท. ครั้งที่ 28 จำนวน 3 เรื่อง (ตามแนบ)
5.2 เสนอผลงานในการประชุม 20th Pacific Science Congress : Science & Technology for Healthy Environment , 17-21 March 2003 จำนวน 1 เรื่อง (ตามแนบ)
5.3 เสนอผลงานในการประชุมวิชาการระดับสากล Joint International Tropical Medicine Meeting 2002 , 20-22 November 2002, Montien Riverside Hotel, Bangkok, Thailand จำนวน 3 เรื่อง (ตามแนบ)
5.4 ตีพิมพ์ผลงานวิจัย (published) ในวารสารวิชาการระดับ CA Search 5 เรื่อง (ตามแนบ) อยู่ในระหว่างการตีพิมพ์ (in press) ระดับ CA Search 2 เรื่อง SCI Search 1 เรื่อง
5.5 ตรวจสอบโปรโตซัวในแหล่งน้ำ เช่น คูเมืองเชียงใหม่ ผ่านทางสถานบริการวิจัย คณะวิทยาศาสตร์
5.6 ให้คำปรึกษานักศึกษาจากคณะวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม ตรวจสอบหนอนพยาธิในแหล่งน้ำ
5.7 ตรวจสอบชนิดหนอนพยาธิในไก่และเป็ด จากจังหวัดสมุทรปราการ ร่วมกับคณะทีมวิจัยจากมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
5.8 วิจัยร่วมกับนักศึกษาปริญญาโท (ทุน BRT นักศึกษา) ตรวจสอบหนอนพยาธิในปลาแฟมิลี Cyprinidae บางชนิดที่อ่างเก็บน้ำเขื่อนแม่งัดสมบูรณ์ชล
5.9 วิจัยร่วมกับนักศึกษาปริญญาเอกกาญจนาภิเษก 3 คน เกี่ยวกับพยาธิใบไม้วงศ์ Heterophyidae
5.10 Prof.Dr.Jong Yil Chai จากประเทศเกาหลี เดินทางมาเพื่อร่วมวางแผน และดูแหล่งที่เก็บตัวอย่างงานวิจัยของนักศึกษาปริญญาเอกกาญจนาภิเษก
5.11 ส่งนักศึกษาปริญญาเอกกาญนาภิเษก นายประลองยุทธ ศรีปาลวิทย์ ไปทำวิจัยที่ University of Soul ประเทศเกาหลี ระยะเวลา 3 เดือน

6. ประวัติผลงานที่ผ่านมานับตั้งแต่ก่อตั้งห้องปฏิบัติการวิจัย (เรียงลำดับก่อนหลังตาม ค.ศ.)

6.1 ผลงานตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ (published) 20 เรื่อง
6.1.1 Wongsawad C, Wongsawad P, Suwattanacoupt S, Sukchotirattana M. 1996. Some biological investigation of larval trematodes from Chiang Mai moat. Proceeding 16th Biennial Confrence of the Asian Association for Biology Education. Chiang Mai, Thailand., 157-171.
6.1.2 Namue C, Wongsawad C. 1997. A survey of helminths infection in rats (Rattus sp.) from Chiang Mai Moat. SEA J Trop Med Publ Health , 28 (Suppl. 1) : 179-83. *,***
6.1.3 Saehoong P, Wongsawad C. 1997. Survey of helminths in house lizards (Reptilia : Gekkonidae). SEA J Trop Med Publ Health , 28 (Suppl. 1) : 184-9.*,***
6.1.4 Wongsawad C, Rojanapaibul A, Vanittanakom P. 1997. Light and scanning electron microscopy of Stellantchasmus sp. (Trematoda : Heterophyidae). SEA J Trop Med Publ Health , 28 (Suppl. 1) : 213-6. *,***
6.1.5 Wongsawad C, Rojanapaibul A, Vanittanakom P. 1997. Surface ultrastructure of encysted metacercariae and of adult Stellantchamus sp. (Trematoda : Heterophyidae). J Electron Microscopy Soc Thailand , 11(1) : 19-26. *,***
6.1.6 Amin O M, Wongsawad C, Saehoong P, Suwattanacoupt S, Marayong T. 1998.. Sphaerechinorhynchus macropisthyopinus sp.n. (Acanthocephala : Plagiorhynchidae) from lizard, frog and fish in Thailand. J Helminthol Soc Wash ,65(2) : 174-8. *,**,***
6.1.7 Wongsawad C, Sey O, Rojanapaibul A, Chariyapongpun P, Suwaatanacoupt S, Wongsawad P, Marayong T, Rojtinnakorn J. 1998. Trematodes from amphibians and reptiles of Thailand. J. Sci Soc Thailand. 24 : 265-274. *,**,***,****
6.1.8 Wongsawad C, Jadhav BV. 1998. A new tapeworm from Gallus gallus domesticusform Thailand. Rivista di Parassitologia. XV (LIX)-N.2 : 149-155.*
6.1.9 Wongsawad C, Jadhav BV. 1998. Circumonchobothrium baimaii n.sp. (Cestoda : Pseudophyllidea) from a freshwater fish, Maesa stream, Chiang Mai, Thailand. Rivista di Parassitologia. XV (LiX)-N.3 : 281-289. *
6.1.10 Wongsawad C. 1998. Light and Scannining electron microscopy of the large intestinal nematode, Ascaridia galli Schrank, 1788 from domestic chicks, Gallus gallus domesticus. Rivista di Parassitologia. XV (LIX)-M.3 : 291-294. *
6.1.11 Wongsawad C. Marayong T, Jadhav BV. 1998. A new Ptychobothriidae tapeworm from Maesa stream, Chiang Mai, Thailand. Rivista di Parassitologia. XV(LIX)-N.3 : 295-298. *
6.1.13 Wongsawad C. 1998. A review of the genus Ptychibothrium Loennberg, 1889 with two new species. Rivista di Parassitologia. XV (LIX)-N.3 : 299-304. *
6.1.14 Wongsawad C, Kumchoo K, Pachanawan A.1998. A new tapeworm from Maesa stream fish of Chiang Mai, Thailand. Rivista di Parassitologia. XV(LIX)-N.3 : 305-308. *
6.1.15 Wongsawad C, Sey O, Rojanapaibul A, Wongsawad P, Marayong T, Rojtinnakorn J, Suwattanacoupt S, Pachanawan A. 1999. Description of Gorgoderina gracilis n.sp. (Trematoda: Gorgoderidae) from Ichthyophis supachaii Taylor, 1960 (Amphibia: Ichthyophiidae) of Thailand. Acta.Zool.Hung.,45(4): 293-297. *
6.1.16 Nichapun A, Sripalwit P, Wongsawad C. 2000. Light and scanning electron microscopy of the Trematode Acanthostomum burminis in the watersnake Xenochrophis piscator. J.E.M.S.T.,14(1):17-22. *,***
6.1.17 Wongsawad C, Rojanapaibul A, Mhad-arehin N, Pachanawan A, Marayong T, Suwattanacoupt S, Rojtinnakorn J, Wongsawad P, Kumchoo K, Nichapun A. 2000. Metacercaria from freshwater fishes of Maesa stream, Chiang Mai, Thailand. Southest Asian J.Trop.Med.Public.Health.,31(Suppl.1):54-57. *,**,***
6.1.18 Chariyapongpun P, Sripalwit P, Wongsawad C. 2000. Reinvestigated life history of Moniliformis dubius Meyer,1933 in Chiang Mai, Thailand. Southest Asian J.Trop.Med. Public.Health.,31(Suppl.1):65-68. *,**,***
6.1.19 Sripalwit P, Wongsawad C. 2000. The tegumental surface of the adult Moniliformis dubius Meyer, 1933 (Acanthocephala) by scanning electron microscope. Songklanakarin J.Sci.Technol.,22(2):257-262. *
6.1.20 Kumchoo K, Wongsawad C, Sirikanchana P, Sripalwit P. 2001. Light microscopy and scanning electron microscopy of Camallanus anabantis Pearse, 1933 (Nematoda:Camallanidae) from Anabas testudineus Bloch, 1792. Songklanakarin J.Sci.Technol.,23(2):185-191. *
หมายเหตุ ฐานข้อมูลมาตรฐาน * CA search, ** Biosis, *** Medline, **** SCI

6.2 ผลงานวิจัยที่เสนอในที่ประชุมวิชาการ 15 เรื่อง
6.2.1 Namue C., Wongsawad C.. 1997. Scanning Electron Microscopy of the cuticular surface of Rictularia sp. Froelich, 1802 ( Nematode : Rictulariidea ). Poster presentation in the 14th Conference of the Electron Microscopy Society of Thailand , 11(Suppl.1),59-60.
6.2.2 Pachanawan A., Wongsawad C. 1997. Scanning Electron Microscopic observation of Postorchigenes sp. Tubangui, 1928 (Trematoda: Lecithodendriidae). Poster presentation in the 14th Conference of the Electron Microscopy Society of Thailand, 11(1),61-62.
6.2.3 Laudee P., Wongsawad C., Nabonmee S., Kantalue B., Vanittanakom P. 1997. Scanning Electron Microscopic observation of Heterakis gallinarum Schrank, 1788 (Nematoda: Heterakidae). Poster presentation in the 14th Conference of the Electron Microscopy Society of Thailand, 11(1),63-64.
6.2.4 Rojanapaibul A., Amornratanayut M., Wongsawad C., Vanittanakom P. 1997. Surface ultrastucture of Amoebotaenia spinosa Yamaguti, 1956 (Cestoda : Dilepididae). Poster presentation in the 14th Conference of the Electron Microscopy Society of Thailand, 11(1),65-66.
6.2.5 Wongsawad C., Wongsawad P. 1997. Scanning Electron Microscopic observation of Dispharynx nasuta Rudolphi, 819 ( Nematoda: Acuariidae ). Poster presentation in the 14th Conference of the Electron Microscopy Society of Thailand, 11(1),67-68.
6.2.6 Kongngarm N., Wongsawad C. 1997. Scanning Electron Microscopic observation of Hypoderaeum conoideum Bloch,1782; Dietz, 1909 (Trematoda : Echinostomadidae). Poster presentation in the 14th Conference of the Electron Microscopy Society of Thailand, 11(1),69-70.
6.2.7 Wongsawad P., Wongsawad C., Proongkiat I. 1997. Scanning Electron Microscopic study of the pollen of Buahinia malabarica Roxb. and B. purpurea Linn. Poster presentation in the 14th Conference of the Electron Microscopy Society of Thailand, 11(1),75-76.
6.2.8 Wongsawad C., Laudee P., Rojanapaibul A. 1998. Light and Scanning Electron Microscopy of the large intestinal Nematode (Ascaridia galli Schrank,1788) from domestic chick (Gallus gallus domesticus) with Prevalence Investigation. Poster presentation in the 15th Conference of the Electron Microscopy Society of Thailand, 12(1),67-68.
6.2.9 Wongsawad C, Rojanapaibul A, Rojtinnakorn J, Wongsawad P, Marayong T, Suwattanacoupt S. 1998. Oral presentation in the 2nd BRT Annual Conference, Khon Khaen, Thailand.
6.2.10 Laudee P., Wongsawad C., Vanittanakom P., Kantalue B. 1998. Fine structural tegument of Pallisentis sp. Van Clave, 1928 by Scanning and Transmission Electron Microscopy. Poster presentation in the 15th Conference of the Electron Microscopy Society of Thailand, 12(1),71-72.
6.2.11 Wongsawad P., Proongkiat I., Laudee P., Wongsawad C. 1998. Light and Scanning Electron Microscopy study of the pollens of Melientha suavis Pierre. Poster presentation in the 15th Conference of the Electron Microscopy Society of Thailand, 12(1),79-80.
6.2.12 Wongsawad C., Rojanapaibul A., Vanittanakom P., Laudee P., Sripalwit P.,
Kantalue B., Marayong T. 1999. Scanning Electron Microscopy of the mouth part of Nematodes from domestic chicken (Gallus gallus domesticus). Poster presentation in the 16th Conference of the Electron
Microscopy Society of Thailand, 13(Suppl.),17-18.
6.2.13 Kumchoo K., Wongsawad C., Vanittanakom P., Niwasabutra S., Tichug N. 1999. Ultrastructural surface of Camallanus anabantis Pearse, 1933 (Nematoda: Camallanidae) from Anabas testudineus Bloch, 1792.). Poster presentation in the 16th Conference of the Electron Microscopy Society of Thailand, 13 (l),68-69.
6.2.14 Nichapun A., Wongsawad C., Rojanapaibul A., Mhad-arehin N., Kantalue B.
1999. Tegumental surface of Acanthostomum burminis Bhalerao, 1926 (Trematoda : Acanthostomidae ) from snake ( Xenochrophis piscator ). Poster presentation in the 16th Conference of the Electron Microscopy Society of Thailand, 13(1),70-71.
6.2.15 Wongsawad C., Vanittanakom P., Kaweewat K., Niwasabutra S., Kantalue B. and Thijuk N. 2002. The Life History and Tegumental Study on the Intestinal
Cestode of Chick, Amoebotaenia Cohn, 1900 in Chiang Mai. J.E.M.S.T. ,16(1), 212-213.

6.3 ความร่วมมือกับนักวิจัยหรือผู้เชี่ยวชาญในประเทศและต่างประเทศ เพื่อวิจัยร่วมกัน หรือร่วมกันตรวจสอบชื่อวิทยาศาสตร์ หรือที่ปรึกษาร่วมนักศึกษาปริญญาเอกกาญจนาภิเษกดังนี้คือ
รศ.ประไพสิริ สิริกาญจน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ผศ.ชูศักดิ์ นิติเกตุกุล มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกีรยติ
อ.ดร.จิราพร โรจน์ทินกร มหาวิทยาลัยแม่โจ้
Assoc.Prof.Dr. BV Jadhav ประเทศอินเดีย
Prof.Dr. Otto Sey ประเทศฮังการี
Prof.Dr. Jong Yil Chai ประเทศเกาหลี

6.4 โครงการวิจัยที่เคยได้รับทุน
6.4.1 Title " The Effects of Helminths in Domestic Fowls (Gallus gallus domesticus) in Chiang Mai".
          Supported by The Institute of Science and Technology, Chiang Mai University, 1993
6.4.2 Title "Some Biological Investigation of Larval Trematodes from Chiang Mai Moat".
          Supported by Faculty of Science, Chiang Mai University, 1994
6.4.3 Title "The Distribution of Metacercaria in Chiang Mai and Lumphun Province".
          Supported by Faculty of Science, Chiang Mai University, 1995
6.4.4 Title "A Survey of Helminths and Water Qualities in Phumipol Dam".
         Supported by Chiang Mai University, 1995
6.4.5 Title "Scanning Electron Microscopic Observations on the Tegumental Surface of Helminths in Domestic Chick in Chiang Mai".
          Supported by The National Research Council, 1996-1997
6.4.6 Title " Biodiversity of Helminths in Maesa Stream DoiSuthep-Pui National Park Chiang Mai Thailand"
          Supported by Biodiversity Research Training Program (BRT), 1998-2000
6.4.7 Title " The Biology and Life History of Stellantchasmus falcatus (Trematoda: Heterophyidae)
          Supported by Royal Golden Jubilee, Ph.D student program, The Thailand Research Fund, 2000-2004
6.4.8 Title " The Epidemiology , Tegumental Surface Study and Life History of the Intestinal Trematode, Haplorchis taichui".
          Supported by Royal Golden Jubilee, Ph.D student program, The Thailand Research Fund, 2000-2004
6.4.9 Title " The Pathology of Rat Infected with Heterophyid Trematodes".
          Supported by Royal Golden Jubilee, Ph.D student program, The Thailand Research Fund, 2001-2005
6.4.10 Title " A Survey of Helminths of some Cyprinoid Fish in Mae Ngud Somboonchon Reservoir"
           Supported by BRT, M.S.student program, 2002-2003

6.5 โครงการวิจัยที่ได้รับทุน (อยู่ในระหว่างดำเนินการ)
6.5.1 Title " The Biology and Life History of Stellantchasmus falcatus (Trematoda: Heterophyidae)
          Supported by Royal Golden Jubilee, Ph.D student program, The Thailand Research Fund, 2000-2004
6.4.2 Title " The Epidemiology , Tegumental Surface Study and Life History of the Intestinal Trematode, Haplorchis taichui".
          Supported by Royal Golden Jubilee, Ph.D student program, The Thailand Research Fund, 2000-2004
6.4.3 Title " The Pathology of Rat Infected with Heterophyid Trematodes".
          Supported by Royal Golden Jubilee, Ph.D student program, The Thailand Research Fund, 2001-2005
6.4.4 Title " A Survey of Helminths of some Cyprinoid Fish in Mae Ngud Somboonchon Reservoir"
          Supported by BRT, M.S.student program, 2002-2003

7 ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการในปีที่ผ่านมา (ตามแนบ)

(รวมทั้งผลงานที่เพิ่งได้รับการตีพิมพ์ในปีที่ผ่านมาแต่ยังไม่เคยนำมาแจ้งในการขอต่ออายุห้องปฏิบัติการ เนื่องจากมีการตีพิมพ์ย้อนหลัง)
7.1 ผลงานตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ
7.1.1 Sey O, Wongsawad C. 1999. Description of Pleurogenes chiangmaiensis n.sp. (Trematoda, Pleurogenidae) from Rana sp. of Thailand. Rivista di Parassitologia. XVI(LX)-N.3-Dicembre:221-225. *, **
7.1.2 Mard-arhin N, Prawang T, Wongsawad C. 2001. Helminths of freshwater animals from five provinces in northern Thailand. Southest Asian J.Trop.Med.Public.Health.,32 (Suppl.2):206-209. *, **, ***
7.1.3 Saenphet S, Wongsawad C, Saenphet K. 2001. A survey of Helminths in freshwater animals from some areas in Chiang Mai. Southest Asian J.Trop.Med.Public.Health.,32(Suppl.2):210-213. *,**,***
7.1.4 Wongsawad C, Kumchoo K, 2000. Studies on prevalence and intensity of Transversotrema patialensis (Trematoda: Transversotrematidae) in the snail intermediate host, Thiara scabra. J.Med.& Appl.Malacol.,10:37-40. *,**,***
7.1.5 Kumchoo K, Wongsawad C, Pachanawan A. 2000. Ultrastructural surface of Rediae and cercaria of Transversotrema patialensis (Soparkar) (Transversotrematidae) from the snail host Melanoides tuberculata Muler. J.Med.& Appl.Malacol.,10:41-46. *,**,***
7.1.6 Wongsawad C, Pandey KC, Nichapun A. 2001. On a new Trematode Thilandotrema chiangmaiensis n.sp. from intestine of a frog Rana kuhlii. Indian J.Helminth.,19:1-4. *.**
หมายเหตุ ฐานข้อมูลมาตรฐาน * CA search, ** Biosis, *** Medline

7.2 ผลงานวิจัยที่เสนอในที่ประชุมวิชาการ
7.2.1 ชูศักดิ์ นิติเกตุกุล พนิดา พลสีลา สุภาภรณ์ วรรณภิญโยชืพ บังอร ฉางทรัพย์ Brent W O และ ชโลบล วงศ์สวัสดิ์. 2545. การสำรวจหนอนพยาธิในลำไส้ไก่บ้าน อำเภอบางปะหัน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. การประชุม วทท.ครั้งที่ 28 ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ กรุงเทพฯ. หน้า 381.
7.2.2 ชโลบล วงศ์สวัสดิ์ นิพนธ์ หมาดอาหิน วนิดา เผ่าดี สุชาดา ทาแกง และ ธนู มะระยงค์. 2545. การสำรวจโปรโตซัวในอ่างเก็บน้ำอ่างแก้ว มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่. การประชุม วทท.ครั้งที่ 28 ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ กรุงเทพฯ. หน้า 397.
7.2.3 สุขสรรค์ ชูบุญ กานดา ค้ำชู และ ชโลบล วงศ์สวัสดิ์. 2545. การสำรวจเมตาเซอคาเรียในปลาเกล็ดขาว (Cirrhina julieni and Labiobarbus burmanicus) จากเขื่อนแม่งัดสมบูรณ์ชล อ.แม่แตง จ.เชียงใหม่. การประชุม วทท.ครั้งที่ 28 ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ กรุงเทพฯ. หน้า 398.
7.2.4 กิ่งกานต์ บุญโชติ กานดา ค้ำชู ชโลบล วงศ์สวัสดิ์ และ สบชัย สุวัฒนคุปต์. 2545. การสำรวจเมตาเซอคาเรียในปลาตะเพียนขาว (Puntius gonionotus) จากเขื่อนแม่งัดสมบูรณ์ชล จังหวัดเชียงใหม่. การประชุม วทท.ครั้งที่ 28 ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ กรุงเทพฯ. หน้า 401.
7.2.5 Kumchoo K, Wongsawad C, Chai JY. 2002. Recovery of Haplorchis taichui (Trematoda: Heterophyidae) in chicks (Gallus gallus domesticus). Joint International Tropical Medicine Meeting 2002. The 18th Chamlong-Tranakchit Harinasuta Lecture 20-22 November 2002, Montien Riverside Hotel, Bangkok, Thailand. p242.
7.2.6 Sripalwit P, Wongsawad C, Chai JY, Anuntalabhochai S, Rojanapaibul A. 2002. Investigation of Stellantchasmus falcatus metacercaria in half-beaked fish, Dermogenus pusillus from four districts of Chiang Mai province, Thailand. Joint International Tropical Medicine Meeting 2002. The 18th Chamlong-Tranakchit Harinasuta Lecture 20-22 November 2002, Montien Riverside Hotel, Bangkok, Thailand.p244.
7.2.7 Saenphet S, Wongsawad C, Saenphet K, Chai JY. 2002. Susceptibility of Rodents to Stellantchasmus falcatus infection. Joint International Tropical Medicine Meeting 2002. The 18th Chamlong-Tranakchit Harinasuta Lecture 20-22 November 2002, Montien Riverside Hotel, Bangkok, Thailand.p245.
7.2.8 Wannapinyocheep S, Nithikathkul C, Changsap B, Boontan P and Wongsawad C. 2003. A Survey of Helminths from Intestine of Domestic Poultry in Amphur Bang Phli, Samutprakan Province. Poster presentation on The 20th Pacific Science Congress : Science & Technology for Healthy Environments. The Sofitel Central Plaza Bangkok Hotel, Bangkok,Thailand.

7.3 โครงการวิจัยที่ได้รับทุน
7.3.1 Title " The Biology and Life History of Stellantchasmus falcatus (Trematoda: Heterophyidae)
          Supported by Royal Golden Jubilee, Ph.D student program, The Thailand Research Fund, 2000-2004
7.2.2 Title " The Epidemiology , Tegumental Surface Study and Life History of the Intestinal Trematode, Haplorchis taichui".
          Supported by Royal Golden Jubilee, Ph.D student program, The Thailand Research Fund, 2000-2004
7.2.3 Title " The Pathology of Rat Infected with Heterophyid Trematodes".
          Supported by Royal Golden Jubilee, Ph.D student program, The Thailand Research Fund, 2001-2005
7.2.4 Title " A Survey of Helminths of some Cyprinoid Fish in Mae Ngud Somboonchon Reservoir"
          Supported by BRT, M.S.student program, 2002-2003

7.4 ความร่วมมือทางวิชาการ (ระดับนักวิจัย)
ความร่วมมือกับนักวิจัยหรือผู้เชี่ยวชาญในประเทศและต่างประเทศ เพื่อวิจัยร่วมกัน หรือร่วมกันตรวจสอบชื่อวิทยาศาสตร์ หรือที่ปรึกษาร่วมนักศึกษาปริญญาเอกกาญจนาภิเษกดังนี้คือ
รศ.ประไพสิริ สิริกาญจน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ผศ.ชูศักดิ์ นิติเกตุกุล มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกีรยติ
อ.ดร.จิราพร โรจน์ทินกร มหาวิทยาลัยแม่โจ้
Assoc.Prof.Dr. BV Jadhav ประเทศอินเดีย
Prof.Dr. Otto Sey ประเทศฮังการี
Prof.Dr. Jong Yil Chai ประเทศเกาหลี

7.5 การบริการวิชาการ
7.5.1 ตรวจสอบโปรโตซัวในแหล่งน้ำ เช่น คูเมืองเชียงใหม่ ผ่านทางสถานบริการวิจัย คณะวิทยาศาสตร์
7.5.2 ให้คำปรึกษานักศึกษาจากคณะวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม ตรวจสอบหนอนพยาธิในแหล่งน้ำ
7.5.3 ตรวจสอบชนิดหนอนพยาธิในไก่และเป็ด จากจังหวัดสมุทรปราการ ร่วมกับคณะทีมวิจัยจากมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
7.5.4 อบรมครูภาคฤดูร้อนหลักสูตรสัตววิทยา และหลักสูตรวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม

7.6 บูรณาการกิจกรรมวิจัยร่วมกับการเรียนการสอนทุกระดับ
7.6.1 ร่วมวิจัยกับนักศึกษาระดับปริญญาตรี 3 คน ปริญญาโท 2 คน ปริญญาเอก 3 คน
7.6.2 วิจัยร่วมกับนักศึกษาปริญญาโท (ทุน BRT นักศึกษา) ตรวจหาหนอนพยาธิในปลา แฟมิลี Cyprinidae บางชนิดที่อ่างเก็บน้ำเขื่อนแม่งัดสมบูรณ์ชล นางสาวกิ่งกานต์ บุญโชติ
7.6.3 วิจัยร่วมกับนักศึกษาปริญญาเอกกาญจนาภิเษก 3 คน ทุนงบประมาณ 2543, 2544, 2545 เกี่ยวกับพยาธิใบไม้วงศ์ Heterophyidae คือ 1.นายประลองยุทธ ศรีปาลวิทย์ 2. นางสาวกานดา ค้ำชู 3. นายสุภาพ แสนเพชร
7.6.4 Prof.Dr.Jong Yil Chai จากประเทศเกาหลี เดินทางมาเพื่อร่วมวางแผน และดูแหล่งที่เก็บตัวอย่างงานวิจัยของนักศึกษาปริญญาเอกกาญจนาภิเษก
7.6.5 ส่งนักศึกษาปริญญาเอกกาญนาภิเษก นายประลองยุทธ ศรีปาลวิทย์ ไปทำวิจัยที่ University of Soul ประเทศเกาหลี ระยะเวลา 3 เดือน

8. แผนดำเนินการและผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการด้านต่างๆในรอบปีที่คาดว่าจะได้รับการต่ออายุ
แผนดำเนินงานของห้องปฏิบัติการปรสิตวิทยาเน้นไปทางด้านความหลากหลายทางชีวภาพของหนอนพยาธิในสัตว์มีกระดูกสันหลังทั้งบนบกและในน้ำ และ ความหลากหลายของโปรโตซัวที่เป็นอิสระ และที่สามารถก่อให้เกิดโรคบางชนิด การระบาดของหนอนพยาธิระยะติดต่อ โครงสร้างของผิวหนังเพื่อดูการนำสารอาหารเข้าออกจากลำตัว เป็นต้น จะมีการศึกษาทั้งในระดับพื้นฐาน ระดับจุลภาค และระดับโมเลกุล เพื่อเป็นข้อมูลพื้นฐานและสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในการป้องกันเพื่อตัดวงชีวิตของพยาธิไม่ให้มีการระบาดจนถึงขั้นเป็นอันตรายต่อคนและสัตว์ได้ ห้องปฏิบัติการวิจัยปรสิตวิทยาได้มีการศึกษาทางด้านปรสิตวิทยาทั้งพื้นฐานและจุลภาค และมีจุดมุ่งหมายที่จะนำไปสู่การศึกษาทางด้านนี้ให้กว้างขวางและมีประโยชน์ต่อคน สัตว์และสิ่งแวดล้อมในการป้องกันทางสาธารณสุข หากเราไม่ทราบว่าในท้องถิ่นที่เราอยู่มีปรสิตอะไร สภาวะเป็นอย่างไร มีวงชีวิตอย่างไร เมื่อเกิดปัญหาเช่นการระบาดของโรคขึ้นแล้วย่อมเป็นการยากที่จะแก้ปัญหาในขณะนั้นได้
ดังเหตุผลที่กล่าวมา การตั้งห้องปฏิบัติการวิจัยก็ให้มีการวิจัยต่อเนื่องในระยะเวลา 3 ปี ในด้านการศึกษาหนอนพยาธิ และ โปรโตซัว ในเรื่องความหลากหลายทางชีวภาพ ระบาดวิทยา วงชีวิต และชีววิทยาบางประการของพยาธิในคนและสัตว์ ทั้งระยะตัวอ่อน อาทิเช่น ระยะเมตาเซอคาเรียของพยาธิใบไม้ Stellantchamus falcatus, Haplorchis taichui, Haplorchis yokogawai และ Centrocestus caninus และระยะตัวเต็มวัย อาทิเช่นพยาธิใบไม้ในกระเพาะผ้าขี้ริ้ววัวในแฟมิลี Paramphistomidae และศึกษากลุ่มโปรโตซัวที่ดำรงชีพอิสระในแหล่งน้ำ และที่สามารถติดถึงคนเช่น Acanthamoeba เป็นต้น
การดำเนินงานในปีที่ผ่านมานับว่าได้ผลดีมากเกินความคาดหมาย เพราะสามารถเสนอผลงานด้วย
การตีพิมพ์ในวานสารวิชาการระดับสากล 6 เรื่อง เสนอผลงานในการประชุมวิชาการระดับชาติและระดับสากล 8 เรื่อง (ตามแนบ) มีการทำวิจัยร่วมกับนักวิจัยทั้งในและต่างประเทศ การบริการวิชาการทั้งตรวจสอบชนิดของหนอนพยาธิในสัตว์น้ำและสัตว์บกบางชนิด และตรวจสอบโปรโตซัวทั้งที่เป็นอิสระในแหล่งน้ำและที่อาจเป็นปรสิตได้ในคน การวิจัยร่วมกับนักศึกษาปริญญาโทจากทุนนักศึกษาของ BRT และทุนปริญญาเอกกาญจนาภิเษก จำนวน 3 ทุน จึงหวังว่าห้องปฏิบัติการปรสิตวิทยาจะได้รับการสนับสนุนจากคณะวิทยาศาสตร์ต่อไป

9. ผลของการประเมินในปีที่ผ่านมา ได้รับการต่ออายุห้องปฏิบัติการวิจัยในปี 2545