1 ชื่อห้องปฏิบัติการวิจัย อณูชีววิทยา
Molecular Biology
ภาควิชา ชีววิทยา

2 ชื่อผู้ประสานงาน รศ. ดร. สมบูรณ์ อนันตลาโภชัย

3 สมาชิก
1) รศ. ดร. จินดา ศรศรีวิชัย สมาชิก
2) ดร. กอบเกียรติ แสงนิล สมาชิก
3) นายสุทัศน์ สุภาษี สมาชิก

4 ปีที่เริ่มจัดตั้ง 2539

5 กิจกรรมของห้องปฏิบัติการวิจัย ที่ได้ดำเนินการในปีที่ผ่านมา
- ประชุมหารือทางวิชาการกับ Ion Bioengineering กับ Prof. Zengliang Yu ณ. Institute of Plasma Physics Academic Sinica ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน ระหว่างวันที่ 23-27 กันยายน 2545 ด้วยทุน จากโครงการเมธีวิจัยอาวุโส ดร. ถิรพัฒน์ วิลัยทอง สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
- ประชุมและสัมมนา เรื่อง Microarray and Bioinformatics Workshop II: Gene Array Application and Candidate Identification and orther Cereal Crops ณ International Rice Research Institute (IRRI) Loanos, Laguna, Philippines วันที่ 1-6 ธันวาคม 2545 ด้วยทุน McKnight Foundation

6) ประวัติผลงานที่ผ่านมานับตั้งแต่ก่อตั้ง ห้องปฏิบัติการวิจัย (เรียงลำดับก่อนหลังตามปี พ.ศ.)
1 Anuntalabhochai, S., Terryn, T., Van Montagu, M., and Inze', D. (1991). Molecular characterization of an Arabidopsis thaliana cDNA encoding a small GTP-binding protein, Rha1. Plant, J. 1:167-174.
2 Terryn, N. , Anuntalabhochai, S., Van Montagu, M., and Inze', D. (1992). Analysis of a Nicotiana plumbaginifolia cDNA a novel small GTP-binding protein. FEBS Lett. 299:287-290.
3 Van Der Straeten, D., Anuntalabhochai, S., Van Caeneghem, W., Zhou, Z., Gielen , J and Van Montagu, M. (1997). Expression of three members of the ACC synthase gene family in deepwater rice by submergence, wounding and hormonal treatments. Plant Science 124: 79-87.
4 Chandej, R and Anuntalabhochai, S (1999). Bacterai Degradation of Used Lubricating -Oil: Isolation and Optimization for Biodegradability ability. J. Sci. Fac. CMU. 26(1): 17-24
5 Apavatjrut, P., Anuntalabhochai, S., Sirirugsa,P., and Alisi, C.(1999) Molecular Markers in the Identification of some early flowering Curcuma L. (Zingiberraceae) species. Annals of Botany. 84:529-534.
6 Vilaithong, T. Yu, L.D., C, Alisi, Punchaisri, B., Anuntalabhochai, S., Apavatjarut, P., (2000). A study of low-energy ion beam effects on outer plant cell structure for exogenous macromolecule transferring. Surface and Coating Technology .128-129:133-138.
7 Anuntalabhochai, S., Chandej, R., Chiangda, J., and Apavatjrut, P. (2000). Genetic Diversity within Lychee (Litchi chinensis Sonn.) based on RAPD analysis. Acta Horticulturae. 575: 253-259.
8 Anuntalabhochai, S., Chandej, R., Phanchisiri, B., Yu., L.D., Vilaithong, T., and Brown, I.G. (2001) Ion-Beam-Induced deoxyribose nucleic acid transfer. Applied Physics Letters. 78(16):1-3.
9 Yu, L.D., Phanchaisri, B., Apavatjrut, P., Anuntalabhochai, S., Vilaithong, T. and Brown, I.G. (2002) Some investigation of ion bombardment effects on plant cell wall surfaces. Surface and Coating Technology. 158-159:146-150.
10 Phanchaisri, B., Yu, L.D., Chandej, R., Anuntalabhochai, S., Apavatjrut, P., Vilaithong, T. and Brown, I.G. (2002). Characteristics of heavy ion beam-bombarded bacteria E. coli. and induced direct DNA transfer. Surface and Coating Technology. 158-159:624-629.

2) ผลงานวิจัยที่เสนอในที่ประชุมต่างๆ
1) Kumpoun, W., Chuthakorn, R., Supyen, D., Sardsud, V., Anuntalabhochai, S., Yantrasri, T., Promin, S., and Sornsrivichai, J. (1994 ). Quantitative relation between derivative in the peel of mango (Mangifera indica) to maturity and cultivars. 20th Conf. Sci. & Tech. of Thailand, Thamasart University, Bangkok Conventional Center, Central Plaza Hotel, BKK, Thailand.
2) Anuntalabhochai, S., Geilen, J., Van Montagu, M., and Van Der Straeten, D. (1995). Molecular characterization of genes encoding ACC synthase in deepwater rice. 4th Pacific Rim Biotechnology Conference. Feb.4-9, 1995, Melbourne, Australia.
3) Apavatjrut, P., Sirirugsa, P., Sirisawad, T., Anuntalabhochai, S., and Alisi, C (1996). The use of isozyme to support identification in Curcuma aurantiaca Van Zijp. The Third Pacific Conference on Agricultural Biotechnology. Oct. 10-15, 1996, Prachuab Kirikhan, Thailand
4) Chandej, R and Anuntalabhochai, S (1998).Bacterial comsumption of used lubricating-oil. The 10th Annual Meeting of the Thai Society for Biotechnology and The 1998 Annual Meeting of the National, Center for Genetic Engineering and Biotechnology on Biotechnology for a self-sufficient Economy . November 25-27, 1998. Sol Twin Hotel, Bangkok Thailand.
5) Anuntalabhochai, S., Jamjanta, N., and Mahadtanapuk, S. (1999). Isozyme And RAPD Markers for Genetic Analysis in Peuraria. 25th Conf. Sci. & Tech. of Thailand, Narasorn University, Amarin Lagoon Hotel, Pitsanuloke, Thailand. 20-22 Oct. 1999.
6) Vilaithong, T. Yu, L.D., C, Alisi, Punchaisri, B., Anuntalabhochai, S., Apavatjarut, P., and Wanichapichart, P. (1999). A study of the Mechanism of Low-Ion-Beam Effects on Outer Cell Structure for Exogenous Macromolecule Transferring. The Eleven International Conference on Surface Modification of Metals by Ion Beams. .SMMIB-99. September 19-24 99. Huairou Hotel, Beijing, China.
7) Sripalwit,P., Wongsawad, C and AnuntalabhochaI, S. (2000) Prevalence of the rumen cow fflukes in Chiang Mai and Lumpoon provinces, Thailand. The 18th Biennial Conference of The Asian Association for Biology Education (AABE) on " Biology Education in the New Millennium" . August 1-5, 2000. The Hong Kong Polytechnic University 3/F, Core PQ.
8) Topoonyanont, N., Nuamjaroen, P., Manochai, and Anuntalabhocahi, S. (2000). Flower Induction in spinach (Spinacia oleracea L) by Potassium Chlorate and 5-Azacytidine. 26th Conf. Sci. & Tech. of Thailand, Queen Sirikit National Conventional Center, BKK, Thailand. October 18-20, 2000.
9) Somboon Anuntalabhochai, Sugunya Pitakrattanaukool, Liang Deng Yu, and Thirapat Vilaithong (2000). DNA Transfer into E. coli Using Low Energy Ion Beam Bombardment . Biotechnology: Impacts $ Trends. The 12th Annual Meeting of Thai Society for Biotechnology. !-3 November 2000. Felix Hotel, Kanchanaburi, Thailand.
10) Sripalwit,P., Wongsawad, C and AnuntalabhochaI, S. (2000). Genetic diversity of rumen cow flukes in Amphur Meuang of Chiang Mai and Lumpoon provinces. The 3 rd Seminar on Food-Borne Parasitic Zoonoses. Food- and Water-Borne Parasitic Zoonoses in the 21 th Century. Joint Internation Tropical Medicine Meeting 2000. December 6-8, 2000. The Royal River Hotel, Bangkok, Thailand.
11) Sripalwit,P., Wongsawad, C and AnuntalabhochaI, S. (2001). SEM study on Orthocoelium
streptocoelium (Fischoeder,1091) from Chaing Mai and Lumpoon Provinces. The Eighteen Annual Conference of the Electron Microscopy Society of Thailand. January 17-19, 2001. Charoen Thani Princess Hotel, Khon Kaen, Thailand.
12) Vilaithong, T. Anuntalabhochai, S., Yu, L.D., Punchaisri, B . Apavatjrut, P., and Brown, I.G., (2002) Studies on Low Energy Ion Beam Induced DNA Transfer in Bacteria in Thailand. The Third National Meeting of Ion Beam Bioengineering and the First International Symposium on Ion Beam Wurumqi, Xinjinag, P.R.China . 27 July . - 3 August. 2002.

3 ) ความร่วมมือกับสถาบันต่างประเทศ
1) Dr. Takashi Handa. Institute of Agriculture and Forestry, University of Tsukuba
    ปีที่เริ่มมีความร่วมมือ พ.ศ. 2545 กิจกรรมในปี 2545 ได้ส่งนักศึกษาโครงการกาญจนภิเษก ไปทำวิจัยร่วม ระหว่าง เดือน กค. 2545 ถึง มีนาคม 2546 และได้เดินทางไปเยี่ยมนักศึกษารวมทั้งปรึกษาหารือในความร่วมมือทางวิชาการเดือน ตุลาคม 2545 กิจกรรมปี 2546 ได้เชิญมาร่วมสอบวิทยานิพนธ์ของนักศึกษาปริญญาเอกโครงการกาญจนาภิเษก ในราวเดือน สิงหาคม 2546
2) Dr. Dominique Van Der Straeten. Department of Molecular Genetics University of Gent K.L. Ledeganckstraat 35 B-9000 Gent, Belgium
    ปีที่เริ่มมีความร่วมมือ พ.ศ. 2545 กิจกรรมในปี 2545 ได้รับเวคเตอร์เพื่อใช้ในการส่งถ่ายยีนเข้าสู่พืชจาก Dr. Dominique Van Der Straeten จำนวน 2 แบบ กิจกรรมในปี 2546 จะเดินทางมาให้ความปรึกษาแก่นักศึกษาปริญญาเอกโครงการกาญจนาภิเษก คนที่ 2 ประมาณเดือน กค. 2546 และมีหมายกำหนดการในการส่งนักศึกษาไปไปทำวิจัยร่วม ในราวเดือน ตค.- ธค. 2546
4) โครงการที่ได้รับทุน
1 การศึกษาพันธุกรรมพืชระดับอณูโมเลกุล : พืชกลุ่มตระกูลกระเจียว (Curcuma) และ ขิง (Zingiber)
   (ทุนวิจัยในพระราชดำริของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในโครงการอนุรักษ์พันธ์พืช : 2542-2544 งบประมาณ 5 ล้านบาท
2) การศึกษาความแปรปรวนทางพันธุกรรมระดับโมเลกุลของ ลิ้นจี่ (Litchi spp.) ของไทย โดยเทคนิคอณูชีววิทยา
   (ทุนวิจัย สกว.: 2542-2544 งบประมาณ 1.3 ล้าน บาท)
3 ) การศึกษาและจำแนกพันธุ์ลำไยโดยการวิเคราะห์ลายพิมพ์ดีเอนเอ
   (ทุนวิจัยจากศูนย์วิจัยพืชสวนเชียงราย และ โครงการพัฒนาองค์ความรู้และศึกษา ฯ (BRT) : 2541-2542 งบประมาณ 0.2 ล้าน บาท)
4) ลำอนุภาคควอนตัมกับสสาร
   (ผู้ร่วมโครงการ; ทุนวิจัย เมธีวิจัยอาวุโส สกว. 2544- 2547 งบประมาณ 7.5 ล้านบาท)
5) โครงการกาจนาภิเษก จำนวน 2 ทุน
   (ทุนวิจัย สกว: 2540-2546 งบประมาณ 5 ล้าน บาท)
6) โครงการการศึกษาการผลิตเมล็ดพันธุ์ผีกกาดขาวปลีด้วยโปรแตสเซียมคลอเรท
   (ผู้ร่วมโครงการ: ทุนมูลนิธิโครงการหลวง 2544-2545 งบประมาณ 0.8 ล้านบาท)
7) การโคลนยีนที่เกี่ยวกับการสังเคราะห์ ethylene ในปทุมมา
   (ผู้ร่วมวิจัย : ศูนย์บริการการพัฒนาขยายพันธุ์ไม้ดอกไม้ผลบ้านไร่อันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ
   และ โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี : 2545-2546 งบประมาณ 0.5 ล้านบาท)

6 ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการในปีที่ผ่านมา
6.1 งานตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ
1) Yu, L.D., Phanchaisri, B., Apavatjrut, P., Anuntalabhochai, S., Vilaithong, T. and Brown, I.G.
(2002) Some investigation of ion bombardment effects on plant cell wall surfaces. Surface and Coating Technology. 158-159:146-150. ( SCI: 1.008)
2 ) Phanchaisri, B., Yu, L.D., Chandej, R., Anuntalabhochai, S., Apavatjrut, P., Vilaithong, T. and Brown, I.G. (2002) Characteristics of heavy ion beam-bombarded bacteria E. coli. and induced direct DNA transfer. Surface and Coating Technology. 158-159:624-629. ( SCI: 1.008)
6.2 ผลงานวิจัยที่เสนอในที่ประชุม
1) Vilaithong, T. Anuntalabhochai, S., Yu, L.D., Punchaisri, B . Apavatjrut, P., and Brown, I.G., (2002) Studies on Low Energy Ion Beam Induced DNA Transfer in Bacteria in Thailand. The Third National Meeting of Ion Beam Bioengineering and the First International Symposium on Ion Beam Wurumqi, Xinjinag, P.R.China . 27 July . - 3 August. 2002.
6.3 ความร่วมมือกับสถาบันต่างประเทศ
1) Dr.. Takashi Handa. Institute of Agriculture and Forestry, University of Tsukuba
   ปีที่เริ่มมีความร่วมมือ พ.ศ. 2545
   กิจกรรมในปี 2545 ได้ส่งนักศึกษาโครงการกาญจนภิเษก ไปทำวิจัยร่วม ระหว่าง เดือน กค. 2545 ถึง มีนาคม 2546 และได้เดินทางไปเยี่ยมนักศึกษารวมทั้งปรึกษาหารือในความร่วมมือทางวิชาการเดือน ตุลาคม 2545
2) Dr. Dominique Van Der Straeten. Department of Molecular Genetics University of Gent K.L. Ledeganckstraat 35 B-9000 Gent, Belgium
   ในปี 2545 ได้รับเวคเตอร์เพื่อใช้ในการส่งถ่ายยีนเข้าสู่พืชจาก Dr. Dominique Van Der Straeten จำนวน 2 แบบ
6.4 โครงการที่ได้รับทุน
1) ลำอนุภาคควอนตัมกับสสาร
   (ผู้ร่วมโครงการ; ทุนวิจัย เมธีวิจัยอาวุโส สกว. 2544- 2547 งบประมาณ 7.5 ล้านบาท)
2)โครงการกาจนาภิเษก จำนวน 2 ทุน
   (ทุนวิจัย สกว: 2540-2546 งบประมาณ 5 ล้าน บาท)
3)โครงการการศึกษาการผลิตเมล็ดพันธุ์ผีกกาดขาวปลีด้วยโปรแตสเซียมคลอเรท
   (ผู้ร่วมโครงการ: ทุนมูลนิธิโครงการหลวง 2544-2545 งบประมาณ 0.8 ล้านบาท)
4)การโคลนยีนที่เกี่ยวกับการสังเคราะห์ ethylene ในปทุมมา
   (ผู้ร่วมวิจัย : ศูนย์บริการการพัฒนาขยายพันธุ์ไม้ดอกไม้ผลบ้านไร่อันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ
   และ โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี : 2545-2546 งบประมาณ 0.5 ล้านบาท)
6.5 การให้บริการวิชาการ
1) อบรมและบรรยาย งานวิจัยทางด้าน Biotechnology ให้แก่เจ้าหน้าที่บังคลาเทศ ภายใต้การสนับสนุน องค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ (FAO) จำนวน 3 คณะ ดังนี้
คณะที่ 1 Officials วันที่ 4 กค. 2545 คณะที่ 2 Senior Officials วันที่ 16 กค. 2545 และ คณะที่3 Officials วันที่ 19 กค. 2545
3) วิทยากรรับเชิญร่วมอภิปรายในหัวข้อ " การระดมสมองเพื่อวิเคราะห์ข้อมูลลักษณะประจำพันธุ์ลิ้นจี่" จัดโดยสำนักคุ้มครองพันธุ์พืชแห่งชาติ กรมวิชาการเกษตร ภายใต้การสัมมนาเชิงปฏิบัติการเรื่อง " การจัดทำฐานข้อมูลเชื้อพันธุ์ลิ้นจี่และลำไย" ระหว่างวันที่ 14- 15 สิงหาคม 2545 ณ โรงแรมเชียงใหม่ฮิลล์ อ.เมือง จ. เชียงใหม่
6.6 บูรณาการกิจกรรมวิจัยร่วมกับการเรียนการสอนทุกระดับ ระบุหัวข้อวิทยานิพนธ์ การค้นคว้าอิสระ รายชื่อนักศึกษา คณาจารย์ผู้กำกับดูแล และโครงการวิจัย (ของห้องปฏิบัติการวิจัย)ที่เกี่ยวข้อง
1) หัวข้อวิทยานิพนธ์ การศึกษาความแปรปรวนทางพันธุกรรมระดับโมเลกุลของ ลิ้นจี่ (Litchi spp.) ของไทยโดยเทคนิคอณูชีววิทยา
   ชื่อนักศึกษา นาย รัฐพรจันทร์เดช นักศึกษาปริญญาเอกโครงการกาญจนาภิเษก
   คณาจารย์ที่ผู้กำกับดูแล รศ. ดร.สมบูรณ อนันตลาโภชัย, รศ. ดร. อารยา จาติเสถียร, ผศ. ดร. กอบเกียรติ แสงนิล
   โครงการวิจัยที่เกี่ยวข้อง การศึกษาความแปรปรวนทางพันธุกรรมระดับโมเลกุลของ ลิ้นจี่ (Litchi spp.) ของไทยโดยเทคนิคอณูชีววิทยา (ทุนวิจัย สกว และ ทุนโครงการกาญจนภิเษก)
2) หัวข้อวิทยานิพนธ์ การระบุระดับโมเลกุลพันธ์ลำไย ปทุมมา กวาวเครือ และมะเดื่อ โดยใช้เครื่องหมาย SCAR
   ชื่อนักศึกษา น.ส. สุปราณี สิทธิพรหม นักศึกษาปริญญาเอก
   คณาจารย์ที่ผู้กำกับดูแล รศ. ดร. สมบูรณ์ อนันตลาโภชัย, นาย บุญแถม ถาคำฟู, ดร. นาตยา ดำอำไพ
   โครงการวิจัยที่เกี่ยวข้อง การศึกษาและจำแนกพันธุ์ลำไยโดยการวิเคราะห์ลายพิมพ์ดีเอนเอ
   (ทุนวิจัยจากศูนย์วิจัยพืชสวนเชียงราย และ โครงการพัฒนาองค์ความรู้และศึกษา ฯ; BRT))
3) หัวข้อวิทยานิพนธ์ การประยุกต์ใช้แบคทีเรียปฏิปักษ์และไอออนบีมพลังงานต่ำเพื่อควบคุมโรคและการโคลนซีดีเอนเอที่เข้ารหัสเอซีซีซินเทสในปทุมมา
   ชื่อนักศึกษา น.ส. สุภัค มหัทธนพรรค นักศึกษาปริญญาเอก โครงการกาญจนาภิเษก
   คณาจารย์ที่ผู้กำกับดูแล รศ. ดร. สมบูรณ์ อนันตลาโภชัย, รศ. ดร. สมศร สิงขรัตน์ , รศ. ดร.วิชา สุดสอาด
   โครงการวิจัยที่เกี่ยวข้อง การโคลนยีนที่เกี่ยวกับการสังเคราะห์ ethylene ในปทุมมา
   (ทุนวิจัย: ศูนย์บริการการพัฒนาขยายพันธุ์ไม้ดอกไม้ผลบ้านไร่อันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ
   และ โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี , ลำอนุภาคควอนตัมกับสสาร (ทุนวิจัย เมธีวิจัยอาวุโส สกว. ) และ ทุนโครงการกาญจนภิเษก
4) หัวข้อวิทยานิพนธ์ การชักนำการออกดอกในปวยเล้งและผักกาดขาวปลีด้วย โปแตสเซียมคลอเรต
   ชื่อนักศึกษา น.ส. ณัฏฐินี บัวพงศ์ นักศึกษาปริญญาโท
   คณาจารย์ที่ผู้กำกับดูแล รศ. ดร. สมบูรณ์ อนันตลาโภชัย, ผศ. ดร. นพมณี โทปุณญญานนท์, รศ. ดร. จินดา ศรศรีวิชัย
   โครงการวิจัยที่เกี่ยวข้อง ทุนมูลนิธิโครงการหลวง
5) หัวข้อวิทยานิพนธ์ ส่งถ่ายพลาสมิดเข้าสู่ยาสูบ (Nicotiana tabacum), แครอท( Daucus carota var. sativas) และข้าว (Oryza sativa var. indica) โดยไอออนบีมพลังงานต่ำ
   ชื่อนักศึกษา น.ส. ต่อนภา ผุสดี นักศึกษาปริญญาโท
   คณาจารย์ที่ผู้กำกับดูแล รศ. ดร. สมบูรณ์ อนันตลาโภชัย, ศ. ดร. ถิรพัฒน์ วิไลทอง , ดร. ศศิธร วงศ์เรือง
   โครงการวิจัยที่เกี่ยวข้อง ลำอนุภาคควอนตัมกับสสาร (ทุนวิจัย เมธีวิจัยอาวุโส สกว. )
6) หัวข้อวิทยานิพนธ์ ส่งถ่ายพลาสมิดเข้าสู่แบคทีเรีย Escherichia coli โดยไอออนบีมพลังงานต่ำ
7) ชื่อนักศึกษา น.ส. สุกัญญา พิทักษ์รัตนากูล นักศึกษาปริญญาโท
   คณาจารย์ที่ผู้กำกับดูแล รศ. ดร. สมบูรณ์ อนันตลาโภชัย, ศ. ดร. ถิรพัฒน์ วิไลทอง , ดร. ยิ่งมณี ตระกูลพัว
   โครงการวิจัยที่เกี่ยวข้อง ลำอนุภาคควอนตัมกับสสาร (ทุนวิจัย เมธีวิจัยอาวุโส สกว. )

8) แผนดำเนินการและผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการด้านต่างๆในรอบปีที่คาดว่าจะได้รับการต่ออายุ
งานตีพิมพ์ในวารสารต่างประเทศจำนวน 2 เรื่อง
1) Yu, L.D., Phanchaisri, B., Apavatjrut, P., Anuntalabhochai, S., Vilaithong, T. and Brown, I.G.
(2002) Some investigation of ion bombardment effects on plant cell wall surfaces. Surface and Coating Technology. 158-159:146-150. ( SCI: 1.008)
2 ) Phanchaisri, B., Yu, L.D., Chandej, R., Anuntalabhochai, S., Apavatjrut, P., Vilaithong, T. and Brown, I.G. (2002) Characteristics of heavy ion beam-bombarded bacteria E. coli. and induced direct DNA transfer. Surface and Coating Technology. 158-159:624-629. ( SCI: 1.008)