1. ชื่อหน่วยวิจัย : เทคโนโลยีจุลินทรีย์
Microbial Technology
ภาควิชา ชีววิทยา

2. สมาชิกประกอบด้วย :

1. ดร. ภาณุวรรณ จันทวรรณกูร ิ์ผู้ประสานงานหน่วยวิจัย
2. ดร. ปานมุก วัชระปิยะโสภณ  สมาชิก

3. หลักการและเหตุผลของการจัดตั้ง
จุลินทรีย์มีบทบาทในการดำรงชีวิตของมนุษย์ทั้งให้ประโยชน์และโทษ เพื่อให้มนุษย์ได้ดำเนินชีวิตอย่างผาสุข การใช้ประโยชน์และการจัดการทรัพยากรจุลินทรีย์อย่างมีประสิทธิภาพจึงมีความจำเป็น โดยเฉพาะอย่างยิ่งในยุคของเทคโนโลยีชีวภาพ หน่วยวิจัยเทคโนโลยีจุลินทรีย์จะเป็นหน่วยวิจัยที่มุ่งเน้นการใช้ประโยชน์จากจุลินทรีย์และแก้ปัญหาที่เกิดจากจุลินทรีย์ทั้งในด้านการเกษตร อุตสาหกรรม และสิ่งแวดล้อม โดยประมวลความรู้ทางจุลชีววิทยา ชีวโมเลกุล และ ชีวเคมี ตลอดจนภูมิปัญญาพื้นบ้าน

4. วัตถุประสงค์และเป้าหมาย
4.1 เพื่อใช้ประโยชน์จากจุลินทรีย์การเกษตร อุตสาหกรรม และสิ่งแวดล้อม
4.2 เพื่อศึกษาจุลินทรีย์ที่ก่อความเสียหายในด้านการเกษตร อุตสาหกรรม และสิ่งแวดล้อม
4.3 เพื่อประยุกต์ใช้ภูมิปัญญาพื้นบ้านกับการใช้ประโยชน์จากจุลินทรีย์

5. งานวิจัยหลักที่กำลังดำเนินการอยู่
5.1 โครงการวิจัย เรื่อง การศึกษาโรคที่เกิดจากผึ้งพันธุ์ (Apis mellifera) และผึ้งโพรง (Apis cerana)และการใช้สารสกัดจากธรรมชาติในการบำบัด สนับสนุนโดยสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว)
5.2 โครงการวิจัยถั่วเหลืองหมักอาหารพื้นบ้านในภาคเหนือ

6. อุปกรณ์เครื่องมือวิจัยหลักทีมีอยู่แล้ว
6.1 เครื่องวัดการดูดกลืนแสง (Spectrophotometer)
6.2 ตู้อบ (hot air oven)
6.3 ตู้เพาะเชื้อ (incubator

7. ผลสัมฤทธิ์ทางการวิจัยจนถึงปัจจุบัน
7.1 โครงการวิจัย เรื่อง การศึกษาโรคที่เกิดจากผึ้งพันธุ์ (Apis mellifera) และผึ้งโพรง (Apis cerana)และการใช้สารสกัดจากธรรมชาติในการบำบัด กำลังอยู่ในช่วงเวลาดำเนินการ
7.2 โครงการวิจัยถั่วเหลืองหมักอาหารพื้นบ้านในภาคเหนือ ได้รับการยอมรับตีพิมพ์ในวารสาร Science Asia และโครงการนี้อยู่ในระยะการขอการสนับสนุนเพื่อทำวิจัยต่อยอด

8. ผลงานตีพิมพ์เผยแพร่
ดร. ภาณุวรรณ จันทวรรณกูร
1. Dancer, B. N., and Chantawannakul, P. 1997. The proteases of American foulbrood scales. Journal of Invertebrate Pathology. 70, 79-87.
2. Cheeptham, N. and Chantawannakul, P. 2001. Intellectual property management and awareness at the university level in the biotechnology era: a Thai perspective. World Patent Information Journal, Elsevier science. Vol 23/4, pp 373-378.
3. Chantawannakul, P and Dancer B N. American foulbrood in honey bees. 2001 Bee world 82(4),168-180.
4. Chantawannakul, P., Oncharoen, A., Klanbut, K., Chukeatirote, E., Lumyong, S., 2002. Characterization of proteases of Bacillus subtilis strain 38 isolated from traditionally fermented soybean in Northern Thailand (funded by Prof Dr. Nat Pramornpravat research fund) Science Asia V. 28 No 3 in press.
ดร. ปานมุก วัชระปิยะโสภณ
1. Baker, G.L.A., Hayes, P.K., O'Mahony, S.L., Vacharapiyasophon, P. and Walsby, A.E. 1999. A molecular and phenotypic analysis of Nodularia (Cyanobacteria) from the Baltic Sea. J. Phycol. 35:931-937.
2. Baker,G.L.A., Handley,B.A., Vacharapiyashophon, P., Steven, J.R. and Hayes, P. K. 2000. Allele-specific PCR shows that genetic exchange occurs among genetically diverse Nodularia (Cyanobacteria) filaments in the Baltic sea. Microbiol. 146:2865-2875.