1. ชื่อหน่วยวิจัย : สารกลิ่นหอมในผลไม้และอาหาร

Fruit and Food Aroma

ภาควิชา เคมี

2. สมาชิก :

1. รศ.ดร. เกรียงศักดิ์ ไชยโรจน์

ผู้ประสานงานหน่วยวิจัย

2. ผศ. ดร. สุกัญญา มหาธีรานนท์

สมาชิก

3. อ.วรลักษณ์ อังศุวรางกุล

สมาชิก

3.หลักการและเหตุผล

การวิจัยด้านสารกลิ่นหอมจากผลไม้เศรษฐกิจ เช่น มะม่วง ลำไย มังงคุด เงาะ ทุเรียน และสารกลิ่นหอมที่ใช้กับอาหารจะช่วยทำให้ได้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการประกันคุณภาพของผลิตภัณฑ์เหล่านี้

4. วัตถุประสงค์และเป้าหมาย

- การทำวิจัยเพื่อหาองค์ประกอบของสารกลิ่นหอมที่เป็น Character impact compound ของผลไม้เศรษฐกิจและสารหอมระเหยที่ใช้กับอาหาร

- ทำงานวิจัยร่วมกับมูลนิธิโครงการหลวง โครงการ “การใช้ประโยชน์พืชสมุนไพรในพื้นที่มูลนิธิโครงการหลวง”

5. งานวิจัยหลักที่ยังดำเนินการอยู่

- ศึกษาวิเคราะห์สารหอมระเหยให้กลิ่นของมะม่วงพันธุ์ต่างๆซึ่งเก็บในระยะเวลาต่างกัน

- ศึกษาวิเคราะห์สารหอมระเหยให้กลิ่นที่ใช้กับอาหาร หรือ เครื่องดื่ม

- ศึกษาวิเคราะห์สารหอมระเหยให้กลิ่นจากสมุนไพรในพื้นที่มูลนิธิโครงการหลวง

6. อุปกรณ์/เครื่องมือวิจัยที่มีอยู่แล้ว

- เครื่องมือสกัดสารหอมระเหยให้กลิ่นแบบ Simultaneous steam distillation and extraction

- เครื่องมือสกัดด้วยการกลั่นที่ความดันต่ำ

- เครื่อง Gas chromatograph

- Mass spectrophotometer

7. ผลสัมฤทธิ์ทางการวิจัยจนถึงปัจจุบัน

- ผลงานที่นำเสนอทางวิชาการ งานวิจัย และการประชุมต่างๆ ได้แก่

Refered Publications:

1. G. Chairote, F. Rodriquez, S. Seok, and J. Crouzet, “Characterization of Additional Volatiel Flavor components of Apricot” , J. Food Sci., 45 (6), 1898 ( 1981)

2. G. Chairote, F. Rodriquez, S. Seok, and J. Crouzet, “ Volatile Component Modification Duing Heat Treatment of Fruit Juices”, Instrumental Anal . of Food , 2, 119, (1987)

3. M. Kawakami, G. Chairote, and A. Kobayashi, “Flavor Constituents of Pickled tea, Miang in Thailand”, Agric.Biol.Chem., 51 (6),1683 (1987).

International Meeting :

1. G. Chairote, “Volatile Constituents of Toanao”,1st Princess Chulaporn Science Congress, Bangkok, 1987

2. G. Chairote, “Volatile Constituents of Fresh and Canned Longan (Euphoria Longana Lam.CV.Edaeng.)”, Asean Food Conference Bangkok, 1988.

3. G. Chairote, “Analysis of Volatile Aroma Compounds from “reow Hom”, The 3rd International Conference on Science and Technology Transfer to Thailand, Bangkok, July 23-25, 1993.

National Meeting :

1. G. Chairote, “Comparision of Volatile aroma Compounds of Fermented Soybean Before and After Fermentation”, 1st Chemex Thai, Bangkok, 1989.

2. Pakawan Nongkunsarn, A. Wannagon and G. Chairote, “Fermented Soybean for Food Flavoring”, 15th Conf. Sci. Tech. Thailand , 1989.

3. J. Intraprasert and G. Chairote, “ Glucose Isomerase from Leuconotoc Sp. and Streptomyces sp., “The 1st Annual Meeting of the Thai Society for Biotechnology” , Bangkok, December 13-15, 1989.

Thesis Supervisor:

1. Apiradee Sarika, “The Study of Aroma in Fermented Tea Leaves”, 1984

2. Jariya Pitipornnarong, “Studies on Odored Compounds of Fresh and Canned Longan ( Euphoria longana Lam.cv. Edaeng)”, 1988.

3. Somkait Kruaysawat, “ Identifiationof Volatile Aroma Compounds in Fermented Soybean”, 1989.

ผลงานเพิ่มเติมในปีที่ผ่านมา

1. รายงานผลการวิจัยสารให้กลิ่นของมะม่วงสุกในระยะต่างๆ

2. Gringsak Chairote, Volatile Aroma Constitnent of Roasted Tamarind Seeds, Manuscript to be pudlished in the Journal of Science Faculty, Chiang Mai University.