ผลการดำเนินงานตามภารกิจ

   


ด้านการผลิตบัณฑิตและการพัฒนาคุณภาพการศึกษา

คณะวิทยาศาสตร์มีระบบการคัดเลือกเพื่อรับเข้าเป็นนักศึกษาระดับปริญญาตรี ดังต่อไปนี้

      • การสอบคัดเลือก จากส่วนกลาง ดำเนินการโดยสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.)
      • การสอบคัดเลือก โควตาภาคเหนือ ดำเนินการโดยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
      • การสอบคัดเลือก การรับเข้าโดยวิธีพิเศษ ดำเนินการโดยคณะวิทยาศาสตร์
        ตามโครงการต่างๆ ดังนี้
        • โครงการพัฒนาและส่งเสริมผู้มีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (พสวท.)
        • โครงการส่งเสริมผู้มีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ (สควค.)
        • โครงการพัฒนากำลังคนด้านวิทยาศาสตร์ (ทุนเรียนดีวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทย)
        • โครงการรับนักเรียนที่มีผลการเรียนดี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (โครงการเรียนดี มช.)
        • โครงการพัฒนาและส่งเสริมเยาวชนดีเด่นทางการกีฬา (โครงการกีฬา)
        • โครงการรับนักเรียนผู้มีความสามารถพิเศษทางวิทยาการคอมพิวเตอร์
        • โครงการรับนักเรียนจากโครงการพัฒนาอัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กและเยาวชน
        • โครงการรับนักเรียนมัธยมปลายจากค่ายโอลิมปิกวิชาการ
        • โครงการรับนักเรียนทุนมูลนิธิวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์เพื่อชุมชน (วคช.)
        • โครงการรับนักเรียนเข้าโดยวิธีพิเศษ (วพ.)
        • โครงการเพชรทองกวาว

สำหรับการคัดเลือกเข้าศึกษาต่อระดับบัณฑิตศึกษา รับสมัครโดยผ่านบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และสอบคัดเลือกตามสาขาวิชาที่สมัคร ณ คณะวิทยาศาสตร์ โดยเปิดรับสมัครปีละ 2 ครั้ง คือ ภาคการศึกษาที่ 1 และภาคการศึกษาที่ 2 ของทุกปีการศึกษา

นักศึกษาปัจจุบัน  ในปีการศึกษา 2549 คณะวิทยาศาสตร์ได้รับนักศึกษาใหม่ทั้งสิ้น 1,071 คน จำแนกเป็น

        • ระดับปริญญาตรี     810 คน
        • ระดับปริญญาโท     228 คน
        • ระดับปริญญาเอก      33 คน

โดยมีจำนวนนักศึกษารวมทั้งคณะมีจำนวน 3,801 คน จำแนกเป็น ระดับปริญญาตรี 2,710 คน ระดับปริญญาโท 863 คน ระดับปริญญาเอก 228 คน

ผู้สำเร็จการศึกษา
บัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาทุกสาขาวิชาจากคณะวิทยาศาสตร์ ปีการศึกษา 2548 มีจำนวนทั้งสิ้น 691 คน ดังนี้

        • วิทยาศาสตรบัณฑิต            491 คน
        • วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต      161 คน
        • วิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต        39 คน

หลักสูตร ปัจจุบันคณะวิทยาศาสตร์ เปิดสอนหลักสูตร

        • ระดับปริญญาตรี        13 สาขาวิชา
        • ระดับปริญญาโท        19 สาขาวิชา
        • ระดับปริญญาเอก         9 สาขาวิชา

ระดับปริญญาตรี

ระดับปริญญาโท

ระดับปริญญาเอก

คณิตศาสตร์

คณิตศาสตร์
การสอนคณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์ประยุกต์

คณิตศาสตร์

วิทยาการคอมพิวเตอร์

วิทยาการคอมพิวเตอร์ ***

-

สถิติ

สถิติประยุกต์

-

ฟิสิกส์
วัสดุศาสตร์

ฟิสิกส์
การสอนฟิสิกส์
ฟิสิกส์ประยุกต์
วัสดุศาสตร์

ฟิสิกส์**
วัสดุศาสตร์ **

เคมีอุตสาหกรรม

เคมีอุตสาหกรรม

-

เคมี
ชีวเคมีและชีวเคมีเทคโนโลยี

เคมี
การสอนเคมี
เทคโนโลยีชีวภาพ@.
(แขนงชีวเคมีและชีวเคมีเทคโนโลยี)

เคมี**

ชีววิทยา
จุลชีววิทยา
สัตววิทยา

ชีววิทยา
การสอนชีววิทยา


ชีววิทยา
ความหลากหลายทางชีวภาพและ
ชีววิทยาชาติพันธุ์

ธรณีวิทยา
อัญมณีวิทยา

ธรณีวิทยา
ธรณีฟิสิกส์ประยุกต์**
ธรณีศาสตร์ปิโตรเลียม*

ธรณีวิทยา**

-

วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม**
เทคโนโลยีชีวภาพ@.
(แขนงจุลชีววิทยาและเทคโนโลยีจุลินทรีย์และ
แขนงชีวเคมีและชีวเคมีเทคโนโลยี)

วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมเทคโนโลยีชีวภาพ@.(แขนงชีวเคมีและชีวเคมีเทคโนโลยี)

หมายเหตุ

1. * หลักสูตรนานาชาติ
2. ** หลักสูตรปกติและนานาชาติ
3. *** ภาคปกติ และภาคพิเศษ
4@. หลักสูตรร่วมระหว่างคณะ สังกัดบัณฑิตวิทยาลัย


สำหรับในปีการศึกษา 2549 ได้รับอนุมัติจากสภามหาวิทยาลัย ในการเปิดสอนหลักสูตรใหม่ จำนวน 3 หลักสูตร ได้แก่

        • หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต (วิทยาศาสตร์บูรณาการ)
        • หลักสูตรวิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต (จุลชีววิทยาประยุกต์)
        • หลักสูตรวิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต (วิทยาศาสตร์นาโนและเทคโนโลยีนาโน) @

        นอกจากนี้ ยังอยู่ในระหว่างเสนอขอเปิดหลักสูตรใหม่ อีกหลายหลักสูตร ดังนี้

        • หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์บูรณาการ)
        • หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (ชีวสารสนเทศศาสตร์)
        • หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (จุลชีววิทยาประยุกต์)
        • หลักสูตรวิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต (วิทยาการคอมพิวเตอร์) หลักสูตรปกติภาษาอังกฤษ
        • หลักสูตรวิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต (ฟิสิกส์ประยุกต์)

มีการปรับปรุงกระบวนวิชาและหลักสูตร ทั้งปรับปรุงมากและปรับปรุงเล็กน้อย ในระดับปริญญาตรีและบัณฑิตศึกษา ดังนี้

ระดับ

สาขาวิชา

เปิดกระบวนวิชาใหม่

ปรับปรุง
กระบวนวิชา

ปริญญาตรี

เคมี

-

2

เคมีอุตสาหกรรม
8
4

คณิตศาสตร์

-

1

ชีวเคมีและชีวเคมีเทคโนโลยี

1

-

ฟิสิกส์

-

3

วิทยาการคอมพิวเตอร์

-

6

ธรณีวิทยา 7 3

อัญมณีวิทยา

-

1

บัณฑิตศึกษา

ธรณีวิทยา - 1

วัสดุศาสตร์

3

-

วิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์ บูรณาการ

7

-

สถิติ

1

-


ภาวะการได้งานทำของบัณฑิต
ตารางแสดงจำนวนและร้อยละของบัณฑิต (ระดับปริญญาตรี) จำแนกตามสถานภาพการทำงาน

 

สาขาวิชา

สภาพการทำงาน

รวม

ทำงานแล้ว

ยังไม่ทำงาน

ศึกษาต่อ

จำนวน

ร้อยละ

จำนวน

ร้อยละ

จำนวน

ร้อยละ

จำนวน

ร้อยละ

เคมี

40

61.54

4

6.15

21

32.31

65

14.25

ชีวเคมีและชีวเคมีเทคโนฯ

14

51.85

4

14.82

9

33.33

27

5.92

เคมีอุตสาหกรรม

43

87.76

2

4.08

4

8.16

49

10.75

ชีววิทยา

14

35.0

2

5.0

24

60.0

40

8.77

จุลชีววิทยา

22

81.48

-

-

5

18.52

27

5.92

สัตววิทยา

5

71.43

-

-

2

28.57

7

1.54

ธรณีวิทยา

28

75.68

7

18.92

2

5.40

37

8.11

อัญมณีวิทยา

22

78.57

5

17.86

1

3.57

28

6.14

คณิตศาสตร์

7

22.58

6

19.35

18

58.07

31

6.80

วิทยาการคอมพิวเตอร์

46

82.14

5

8.93

5

8.93

56

12.28

สถิติ

16

66.67

2

8.33

6

25.0

24

5.26

ฟิสิกส์

7

21.88

6

18.75

19

59.37

32

7.02

วัสดุศาสตร์

21

63.64

6

18.18

6

18.18

33

7.24

รวม

285

62.50

49

10.75

122

26.75

456

100.0

ตารางแสดงจำนวนบัณฑิตที่ทำงานแล้ว จำแนกตามเงินเดือนที่ได้รับ(บาท)

สาขาวิชา

5,000 –8,000

8,001 –11,000

11,001-14,000

มากกว่า14,000

รวม

เคมี

3

5

12

20

40

ชีวเคมีและชีวเคมีเทคโนโลยี

2

6

4

2

14

เคมีอุตสาหกรรม

1

-

7

35

43

ชีววิทยา

7

3

2

2

14

จุลชีววิทยา

4

7

7

4

22

สัตววิทยา

3

1

-

1

5

ธรณีวิทยา

8

1

4

15

28

อัญมณีวิทยา

2

9

9

2

22

คณิตศาสตร์

5

1

-

1

7

วิทยาการคอมพิวเตอร์

8

5

7

26

46

สถิติ

2

4

5

5

16

ฟิสิกส์

1

-

2

4

7

วัสดุศาสตร์

2

10

4

5

21

รวม

ร้อยละ

48

16.84

52

18.25

63

22.10

122

42.81

285

100.0

ตารางแสดงจำนวนบัณฑิตที่ทำงานแล้ว จำแนกตามลักษณะของหน่วยงาน

สาขาวิชา

ราชการ

รัฐวิสาหกิจ

ธุรกิจ/เอกชน

อาชีพส่วนตัว

รวม

เคมี

6

-

39

-

40

ชีวเคมีและชีวเคมีเทคโนโลยี

1

1

11

1

14

เคมีอุตสาหกรรม

1

-

41

1

43

ชีววิทยา

4

-

7

3

14

จุลชีววิทยา

5

1

16

-

22

สัตววิทยา

-

-

3

-

3

ธรณีวิทยา

9

4

15

-

28

อัญมณีวิทยา

1

-

20

1

22

คณิตศาสตร์

2

-

3

2

7

วิทยาการคอมพิวเตอร์

7

1

38

-

46

สถิติ

2

-

14

-

16

ฟิสิกส์

-

1

5

1

7

วัสดุศาสตร์

-

-

20

1

21

รวม

33

8

232

12

285

ร้อยละ

11.58

2.81

81.40

4.21

100.0


การสนับสนุนการพัฒนาวิชาการ
คณะวิทยาศาสตร์ได้จัดสรรงบประมาณเพื่อการสนับสนุนกิจกรรมทางวิชาการทั้งระดับปริญญาตรีและบัณฑิตศึกษาหลายรูปแบบ ดังนี้

ระดับปริญญาตรี

      • โครงการพัฒนาการเรียนการสอน

ในปีงบประมาณ 2549 ได้ให้การสนับสนุนให้การจัดกิจกรรมพัฒนาการเรียนการสอนทั้งสิ้น 75 โครงการ เป็นเงินประมาณ 804,561.- บาท แบ่งออกได้เป็น 4 ลักษณะ กิจกรรม คือ
กิจกรรมพัฒนาคุณภาพนักศึกษา  เป็นกิจกรรมเกี่ยวกับการอบรมสัมมนาเพื่อให้ความรู้แก่นักศึกษา
1) ความรู้วิชาการที่นักศึกษาเกี่ยวข้องโดยตรงในสาขานั้น
2) วิชาการเชิงวิชาชีพที่นักศึกษาต้องใช้ในการนำไปปฏิบัติงานในอนาคต และ
3) วิชาการเสริมทักษะประกอบการศึกษาและการทำงาน โดยเฉพาะทักษะด้านภาษาอังกฤษและทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
กิจกรรมเกี่ยวกับสื่อการสอน  เป็นกิจกรรมในการจัดหา/พัฒนาสื่อสนับสนุนการเรียนการสอนต่างๆ เช่น หนังสือ ตำรา สื่อการสอนและระบบคอมพิวเตอร์
กิจกรรมด้านศิลปวัฒนธรรมและกิจกรรมสัมพันธ์  เป็นกิจกรรมเกี่ยวกับการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม หรือเสริมสร้างความสัมพันธ์ของนักศึกษา เช่น ทำบุญ เยี่ยมบ้านเด็กกำพร้า กีฬา ค่ายคุณธรรมจริยธรรม กิจกรรมพัฒนาภาควิชา เป็นต้น
กิจกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับการพัฒนาการเรียนการสอน เช่น

        • ค่ายวิทยาศาสตร์แบบองค์รวมสำหรับนักศึกษาชั้นปีที่ 1
        • กิจกรรมฝึกวิจัยสำหรับนักศึกษาโครงการพิเศษ ชั้นปีที่ 2
        • การฝึกงานและดูงาน
        • กิจกรรมสัปดาห์แนะนำสาขาวิชาเอก ี
        • กิจกรรมเสนอผลงานวิชาการของนักศึกษาระดับปริญญาตรี
        • โครงการค่ายอาสาพัฒนาการศึกษา
        • โครงการศาสนาสัมพันธ์และอุ้ยสอนหลาน
        • การสนับสนุนกระบวนวิชาปัญหาพิเศษหรือค้นคว้าอิสระ
        • กิจกรรมพัฒนาทักษะด้านภาษาต่างประเทศและเทคโนโลยีสารสนเทศ
        • โครงการวันผู้บริหารพบผู้ปกครองของนักศึกษาใหม่
        • การปฐมนิเทศ/ปัจฉิมนิเทศนักศึกษา
        • โครงการเยี่ยมบ้านนักศึกษาประจำปี
        • โครงการเตรียมความพร้อมก่อนการสำเร็จการศึกษาของนักศึกษาชั้นปีที่ 3 การประชุมประจำปีอาจารย์ที่ปรึกษานักศึกษาชั้นปีที่ 1
        • โครงการพัฒนาระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษา เป็นต้น

      ระดับบัณฑิตศึกษา

      • โครงการพัฒนาวิชาการบัณฑิตศึกษา
        คณะวิทยาศาสตร์ได้จัดสรรงบประมาณเพื่อสนับสนุนค่าใช้จ่ายสมทบในการไปเสนอผลงานทางวิชาการในที่ประชุมวิชาการทั้งในประเทศและต่างประเทศของนักศึกษาบัณฑิตศึกษา โดยในปีการศึกษา 2549 ที่ผ่านมา ได้ให้การสนับสนุนนักศึกษาบัณฑิตศึกษาไปเสนอผลงานวิชาการทั้งสิ้น จำนวน 77 คน รวมเป็นเงิน 660,997 บาท (ในประเทศ 52 คน เป็นเงิน 151,997 บาท และต่างประเทศ 25 คน เป็นเงิน 509,000 บาท)
        คณะวิทยาศาสตร์ ได้จัดสรรงบประมาณสนับสนุนการจัดกิจกรรมพัฒนาวิชาการระดับบัณฑิตศึกษาโดยในปีงบประมาณ 2549 ได้ให้การสนับสนุนให้ภาควิชาต่างๆ รวม 47โครงการ เป็นเงินทั้งสิ้น 798,327 บาท
      • โครงการทุนช่วยสอน
        คณะวิทยาศาสตร์ได้สนับสนุนนักศึกษาบัณฑิตศึกษาช่วยสอนโดยมีการสนับสนุนใน 2 ประเภท คือ การสนับสนุนโดยค่าตอบแทนเป็นรายชั่วโมง และการสนับสนุนในลักษณะการให้ทุนการศึกษา โดยในปีงบประมาณ 2549 ได้สนับสนุนประเภทให้ค่าตอบแทนเป็นรายชั่วโมง จำนวน 1,430,000 บาท และสนับสนุนประเภททุนการศึกษา จำนวน 720,000 บาท รวมทั้งสิ้นเป็นเงิน 2,150,000 บาทเป็นรายชั่วโมง
      • การสนับสนุนนักศึกษาบัณฑิตศึกษาไปเสนอผลงานวิชาการ ฝึกอบรม ดูงาน ทำวิจัยระยะสั้น
        คณะวิทยาศาสตร์ได้จัดสรรงบประมาณเป็นค่าใช้จ่ายสมทบให้แก่นักศึกษาบัณฑิต ศึกษาเพื่อไปศึกษาวิจัยในโครงการแลกเปลี่ยนทางวิชาการกับสถาบันต่างประเทศ ณ California State University ประเทศสหรัฐอเมริกา จำนวน 1 คน เป็นเงิน 30,000 บาท

ทุนการศึกษาและเงินช่วยเหลือพิเศษระดับปริญญาตรี

ทุนการศึกษาระดับปริญญาตรีที่นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์ได้รับในปีการศึกษา 2549
(ข้อมูล ณ วันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2550)

ที่

ชื่อทุน

จำนวนเงิน

จำนวนทุน

รวมจำนวนเงิน

1

 

1.1

1.2

1.3

1.4

1.5

1.6

1.7

1.8

1.9

1.10

1.11

1.12

1.13

1.14

1.15

1.16

1.17

ทุนการศึกษาคณะวิทยาศาสตร์โดยหน่วยกิจการนักศึกษา

(ประเภทขาดแคลน)

ทุนอุดหนุนการศึกษาคณะวิทยาศาสตร์(งบประมาณแผ่นดิน)

ทุนอุดหนุนการศึกษาคณะวิทยาศาสตร์(งบประมาณรายได้)

ทุนอุดหนุนการศึกษาคณะวิทยาศาสตร์(งบประมาณรายได้)

ทุนอุดหนุนการศึกษาคณะวิทยาศาสตร์(งบประมาณรายได้)

ทุนอุดหนุนการศึกษาคณะวิทยาศาสตร์(งบประมาณรายได้)

ทุนอุดหนุนการศึกษาคณะวิทยาศาสตร์(งบประมาณรายได้)

ทุนอุดหนุนการศึกษาคณะวิทยาศาสตร์(งบประมาณรายได้)

ทุนอุดหนุนการศึกษาคณะวิทยาศาสตร์(งบประมาณรายได้)

ทุนอุดหนุนการศึกษาคณะวิทยาศาสตร์(งบประมาณรายได้)

ทุนสำหรับนักศึกษาขาดแคลนทุนทรัพย์ที่มีผลการเรียนดี

ทุนการศึกษากองทุนดรุณี โตสมภาค

ทุนการศึกษา ศ.นพ.สำราญ วังศพ่าห์

ทุนจากมูลนิธิศาสตราจารย์ ดร.บัวเรศ คำทอง

ทุนมาโนช – ดวงจันทร์ คานีเยาว์

ทุนจากคุณเอื้อมพร งามอริยะกุล

ทุนการศึกษาแบบทุนทำงานพิเศษ

ทุนการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์จาก สนง.ตำรวจแห่งชาติ

 

 

5,000

24,000

20,000

18,000

15,000

13,000

12,000

10,000

3,000

10,000

10,000

10,000

10,000

3,000

3,000

6,000

105,000

 

 

120

2

1

3

7

9

4

14

1

10

2

2

2

3

1

200

4

 

 

600,000

48,000

20,000

54,000

105,000

117,000

48,000

140,000

3,000

100,000

20,000

20,000

20,000

9,000

3,000

1,200,000

420,000

รวมเฉพาะทุนคณะวิทยาศาสตร์โดยหน่วยกิจการนักศึกษา

385

2,927,000

ที่

ชื่อทุน

จำนวนเงิน

จำนวนทุน

รวมจำนวนเงิน

2

 

2.1

2.2

2.3

ทุนการศึกษาคณะวิทยาศาสตร์โดยหน่วยกิจการนักศึกษา

(ประเภทเรียนดีตามโครงการรับเข้าโดยวิธีพิเศษ)

ทุนเรียนดีคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม

ทุนเพชรทองกวาว

ทุนสำหรับนักเรียนโอลิมปิกวิชาการ

 

 

10,000

30,000

40,000

 

 

35

29

5

 

 

350,000

870,000

200,000

รวมเฉพาะทุนเรียนดีตามโครงการรับเข้าโดยวิธีพิเศษ

69

1,420,000

ที่

ชื่อทุน

จำนวนเงิน

จำนวนทุน

รวมจำนวนเงิน

3

3.1

3.2

3.3

3.4

3.5

3.6

3.7

3.8

3.9

3.10

3.11

3.12

3.13

3.14

3.15

3.16

3.17

3.18

3.19

3.20

3.21

3.22

3.23

3.24

3.25

3.26

3.27

3.28

ทุนการศึกษามหาวิทยาลัยที่นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์ได้รับ

ทุนการศึกษามูลนิธิอายิโนะโมะโต๊ะ

ทุนการศึกษาสำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล

ทุนการศึกษา JCC 21st

ทุนการศึกษาจาก SMBC

ทุนการศึกษาบริษัทไทยปาร์กเกอร์ไรซิ่ง จำกัด

ทุนการศึกษาหอการค้าไทย-อเมริกัน

ทุนการศึกษาบริษัทกรุงไทยการไฟฟ้าจำกัด

ทุนการศึกษามูลนิธินิวัติไกรฤกษ์

ทุนการศึกษามูลนิธิศรีวิสารวาจา

ทุนการศึกษามูลนิธิริโก้

ทุนการศึกษาเชลล์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ทุนการศึกษาบริษัทลำพูนซิงเคนเก็น จำกัด

ทุนการศึกษามูลนิธิทิสโก้

ทุนการศึกษาสงเคราะห์กองทุนส่งเสริม มช.(ต่อเนื่อง)

ทุนมูลนิธิช่วยเหลือนักเรียนฯ ในพระบรมราชินูปถัมภ์

ทุนการศึกษามูลนิธิร่วมจิตต์น้อมเกล้าฯ เพื่อเยาวชนฯ

ทุนการศึกษามัสกาตี

ทุนการศึกษามูลนิธินายประจักษ์-นางสาลี่ คนตรง

ทุนการศึกษาบริษัทคาโออินดัสเตรียล จำกัด

ทุนกองทุนการศึกษาเอสโซ่สมโภชกรุงรัตนโกสินทร์200 ปี

ทุนการศึกษาสงเคราะห์กองทุนส่งเสริม มช.(เฉพาะปี)

ทุนการศึกษางบประมาณแผ่นดิน

ทุนนายแพทย์ธวัชชัยและแพทย์หญิงวิภา สุภาจารุพันธ์

ทุนการศึกษาจากกองทุนวัชระ ตันตรานนท์

ทุนการศึกษางบประมาณแผ่นดิน

ทุนการศึกษางบประมาณแผ่นดิน

ทุนการศึกษางบประมาณแผ่นดิน(นักกิจกรรมดีเด่น)

ทุนการศึกษานักกิจกรรมดีเด่นจากสมาคมนักศึกษาเก่า มช.

 

50,000

20,000

30,000

27,010

30,000

25,000

20,000

20,000

15,000

13,960

10,000

10,000

9,000

8,000

6,000

6,000

3,000

4,000

8,000

10,000

8,000

8,000

7,000

6,000

6,000

5,000

5,000

5,000

 

1

1

2

2

3

2

3

1

1

1

1

1

2

4

2

1

2

1

1

1

2

1

3

1

5

5

2

1

 

50,000

20,000

60,000

54,020

90,000

50,000

60,000

20,000

15,000

13,690

10,000

10,000

18,000

32,000

12,000

6,000

6,000

4,000

8,000

10,000

16,000

8,000

21,000

6,000

30,000

25,000

10,000

5,000

รวมทุนมหาวิทยาลัยที่นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์ได้รับ

53

669,710


ที่

ชื่อทุน

จำนวนเงิน

จำนวนทุน

รวมจำนวนเงิน

4

 

4.1

4.2

4.3

4.4

4.5

4.6

 

4.7

4.8

4.9

4.10

 

4.11

 

4.12

ทุนการศึกษาที่พิจารณาจัดสรรโดยภาควิชา

ภาควิชาธรณีวิทยา

ทุนการศึกษาจากบริษัท ปตท.สผ จำกัด (มหาชน)

ทุนการศึกษาจากบริษัทเชพลอน

ทุนการศึกษาจากบริษัทชลัมเบอร์เจร์

ทุนการศึกษาจากบริษัทคลองยาง จำกัด

ทุนเรียนภาษาอังกฤษจากบริษัทชลัมเบอร์เจร์

ทุนเรียนภาษาอังกฤษจากบริษัท ปตท.สผ.จำกัด(มหาชน)

ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์

ทุนการศึกษาบริษัทกนกสิน เอ๊กซปอร์ต อิมปอร์ต จำกัด

ทุนการศึกษาทุนกำแพงบุญ

ทุนการศึกษาทุนกำแพงบุญ

ทุนการศึกษาประเภทขาดแคลน

ภาควิชาชีววิทยา

ทุนมูลนิธิกีฏวิทยา

ภาควิชาสถิติ

ทุนการศึกษาจากสมาคมประกันชีวิตไทย (เรียนดี)

 

 

30,000

25,000

20,000

10,000

3,200

100,000

 

10,000

15,000

10,000

5,000

 

12,000

 

4,000

 

 

2

4

5

1

10

-

 

5

1

7

3

 

1

 

1

 

 

60,000

100,000

100,000

10,000

32,000

100,000

 

50,000

15,000

70,000

15,000

 

12,000

 

4,000

รวมทุนการศึกษาที่พิจารณาจัดสรรโดยภาควิชา

40

568,000


ี่

ชื่อทุน

จำนวนเงิน

จำนวนทุน

รวมจำนวนเงิน

5

5.1

ทุนการศึกษาตามนโยบายพิเศษของรัฐบาล(ผ่าน มช.)

ทุนการศึกษา 1 อำเภอ 1 ทุน

-

98,700

-

3

-

296,100

รวมทุนการศึกษาตามนโยบายพิเศษของรัฐบาล

3

296,100

รวมทุนที่นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์ได้รับทั้งหมด

550

5,880,810

เงินช่วยเหลือพิเศษนักศึกษาได้รับปีการศึกษา 2549

ที่

ชื่อทุน

จำนวนเงิน

จำนวนทุน

รวมจำนวนเงิน

6

6.1

6.2

6.3

6.4

6.5

6.6

6.7

6.8

6.9

6.10

6.11

6.12

6.13

เงินช่วยเหลือพิเศษสมทบกับทุนของนักศึกษา

เงินช่วยเหลือพิเศษจากกองทุนคณะวิทยาศาสตร์

เงินช่วยเหลือพิเศษจากกองทุนคณะวิทยาศาสตร์

เงินช่วยเหลือพิเศษจากกองทุนคณะวิทยาศาสตร์

เงินช่วยเหลือพิเศษจากกองทุนคณะวิทยาศาสตร์

เงินช่วยเหลือพิเศษจากกองทุนคณะวิทยาศาสตร์

เงินช่วยเหลือพิเศษจากกองทุนคณะวิทยาศาสตร์

เงินช่วยเหลือพิเศษจากกองทุนคณะวิทยาศาสตร์

เงินช่วยเหลือพิเศษจากกองทุนคณะวิทยาศาสตร์

เงินช่วยเหลือพิเศษจากกองทุนคณะวิทยาศาสตร์

เงินช่วยเหลือพิเศษจากกองทุนคณะวิทยาศาสตร์

เงินช่วยเหลือพิเศษจากกองทุนคณะวิทยาศาสตร์

เงินช่วยเหลือพิเศษจากกองทุนคณะวิทยาศาสตร์

เงินช่วยเหลือพิเศษจากกองทุนคณะวิทยาศาสตร์

 

14,000

12,000

11,000

10,000

9,000

8,000

7,000

6,000

5,000

4,000

3,000

2,000

1,000

 

1

1

2

2

1

1

1

1

3

4

28

3

31

 

14,000

12,000

22,000

20,000

9,000

8,000

7,000

6,000

15,000

16,000

84000

6,000

31,000

รวมเงินช่วยเหลือพิเศษที่นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์ได้รับ

79

250,000

รวมทุนการศึกษาและเงินช่วยเหลือทั้งหมดที่นักศึกษาได้รับ

629

6,130,810

ทุนการศึกษาระดับปริญญาโทและปริญญาเอกที่นักศึกษาได้รับปีการศึกษา 2549

ที่

ชื่อทุน

จำนวนเงิน

จำนวนทุน

รวมจำนวนเงิน

1


2


3

4

ทุนอุดหนุนการศึกษาสำหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาจากงบประมาณแผ่นดิน
(ปริญญาเอก)

ทุนอุดหนุนการศึกษาสำหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาจากงบประมาณแผ่นดิน
(ปริญญาโท)

ทุนสนับสนุนการวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา (TGIST)

จากสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติทุนสนับสนุนการวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา (TGIST)
จากสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ

15,000


10,000


48,000

60,000

3


7


7

2

45,000


70,000


336,000

120,000

รวมทุนการศึกษาระดับ ปริญญาโทและปริญญาเอกที่นักศึกษาได้รับ

19

571,000

นอกจากนี้ คณาจารย์คณะวิทยาศาสตร์ ได้รับทุนโครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก รุ่นที่ 9 ประจำปี 2549 จำนวน 16 ทุน รวมจนถึงปัจจุบัน ได้รับทุนทั้งสิ้น 141 ทุน

 

กิจกรรมนักศึกษา

กิจกรรมเสริมหลักสูตร

กำหนดการ

ชื่อกิจกรรม

กิจกรรมเสริมหลักสูตร

1 ก.พ.49

โครงงานถอดไท-ใส่อะตอม

10-31 พ.ค.49

โครงงานจัดทำสมุดเชียร์

2 มิ.ย.49

โครงงานวันแรกพบ

3-4 มิ.ย.49

โครงงาน Freshy Day

10 มิ.ย.49

โครงงานวันสอนบูม SCIENCE

13 มิ.ย.49

โครงงานวันผูกไท-เปิดสายรหัส

13 มิ.ย.49

โครงงานแนะแนวการเรียนการสอนใช้เครื่องคิดเลขแก่นักศึกษาชั้นปีที่ 1

17-18 มิ.ย.49

โครงงานตั้งไข่

19 มิ.ย.-20 ส.ค.49

จัดพิมพ์เอกสารความรู้ข่าวสารดาราศาสตร์

13 กค.49

โครงงานเลือกสรรผู้แทนนักศึกษาชั้นปีที่ 1

15-16 ก.ค.49

โครงงานอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับดาราศาสตรEบื้องต้น ครั้งที่ 1

19 ส.ค.49

โครงงานสานสัมพันธ์เด็กด้อยโอกาสวัดสวนดอก

26-27 ส.ค.49

โครงงานต้านยาเสพติดให้น้อง

1-3 ก.ย.49

โครงงาน Weekend Science

13-15 ต.ค.49

ผู้นำเยาวชนดาราศาสตร์

18-19 พ.ย.49

โครงงานสัมมนาเชิงปฏิบัติ

8-10 ธ.ค.49

โครงงานค่ายฝึกทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์แก่นักเรียน

13-14 ม.ค.50

โครงงานอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับดาราศาสตร์เบื้องต้น ครั้งที่ 2

5-7 ม.ค.50

ค่ายดาราศาสตร์สัญจร

กิจกรรมด้านกีฬาและนันทนาการ

15 มิ.ย.-15 ก.ค.49

โครงงานฝึกซ้อมเพื่อเตรียมเข้าแข่งขันกีฬา Freshy

17 มิ.ย.-15 ก.ค.49

การแข่งขันบาสเกตบอลน้องใหม่

20 มิ.ย.-8 ก.ค.49

การแข่งขันกีฬาทางน้ำน้องใหม่ระหว่างคณะ

20 มิ.ย.-26 ส.ค.49

การแข่งขันกีฬาทางน้ำระหว่างคณะ

1 ก.ค.49

โครงงานรับน้องขึ้นดอย

15-31 ก.ค.49

การแข่งขันกีฬา Softball Freshy น้องใหม่

20 ก.ค.-1 ต.ค.49

การแข่งขันวอลเลย์บอลระหว่างคณะ

1-31 ส.ค.49

การแข่งขันกีฬา Softball Freshy ระหว่างคณะ

1 ส.ค.-5 ก.ย.49

การแข่งขันตะกร้อระหว่างคณะ

15 ส.ค.-15 ก.ย.49

การแข่งขันแบดมินตันระหว่างคณะ

20 ส.ค.-17 ก.ย.49

การแข่งขันบาสเกตบอลระหว่างคณะภาคเรียนที่ 1/2549

28 ส.ค.-8 ก.ย.49

การแข่งขันรักบี้ระหว่างคณะ

25 พ.ย.49

การเข้าร่วมแข่งขันกีฬารักบี้สี่เส้า

25 พ.ย.49

โครงงานวัน Sports Day

28 พ.ย.49

โครงงานปิดห้องกิจกรรมและSports Night

19 ม.ค.-20 ก.พ.50

การแข่งขันบาสเกตบอลระหว่างคณะภาคเรียนที่ 2/2549

28 ม.ค.-5 ก.พ.50

การแข่งขันบาสเกตบอลระหว่างภาควิชาภายในคณะวิทยาศาสตร์

21 ม.ค.50

โครงงาน Good Bye Science Senior

กิจกรรมด้านทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและประเพณี

15 มิ.ย.49

โครงงานวันไหว้ครู

5 ก.ค.49

โครงงานบายศรีสู่ขวัญและขันโตก

กิจกรรมด้านบำเพ็ญประโยชน์ต่อสังคม

4-10 มี.ค.49

ออกค่ายอาสาพัฒนาเดือนมีนาคม

11-16 มี.ค.50

ค่ายฝึกวิจัยทางวิทยาศาสตร์ครั้งที่ 26

8-9 ก.ค.49

โครงงานปลูกป่าและพัฒนาสิ่งแวดล้อม

14 -19 ต.ค.49

ออกค่ายอาสาพัฒนาเดือนตุลาคม

8-10 ธ.ค.49

ค่ายวิทยาศาสตรEะดับประถมศึกษาครั้งที่ 17

13-14 ม.ค.50

ค่ายวันเด็ก


 

การพัฒนาคณาจารย์และบุคลากร
ในปีงบประมาณ 2549 ได้ให้การสนับสนุน โครงการพัฒนาอาจารย์และบุคลากร ทั้งสิ้นประมาณ 31 โครงการ เป็นเงินทั้งสิ้น 1,138,425 บาท โดยมีกิจกรรมหลักใน 3 ลักษณะคือ
1. การสนับสนุนงบประมาณแก่บุคลากรเพื่อไปศึกษาต่อ/ประชุม/ฝึกอบรม ทั้งใน และต่างประเทศ
2. การจัดอบรม/สัมมนาบุคลากรเพื่อพัฒนาศักยภาพการปฏิบัติงาน
3. การจัดกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาศักยภาพของภาควิชา/หน่วยงานในภาพรวม เช่น การพัฒนาหลักสูตร การประกันคุณภาพการศึกษา
บุคลากรที่ลาศึกษาต่อในประเทศและต่างประเทศ  ช่วงเดือนตุลาคม 2548 – เดือนกันยายน 2549 มีบุคลากรลาศึกษาต่อ จำนวน 6 คน ดังนี้

        • ปริญญาเอก    6 คน

การไปประชุม ดูงาน อบรม ทำวิจัย ทั้งในและต่างประเทศ

การจัดประชุม อบรม สัมมนา (เพื่อบุคลากรคณะ)

        • จัดประชุม จำนวน 4 ครั้ง
        • จัดอบรม จำนวน 5 ครั้ง
        • จัดสัมมนา จำนวน 21 ครั้ง
        • ดูงานและสัมมนา จำนวน 1 ครั้ง

 

การพัฒนาระบบสารสนเทศ

      • เพิ่มขยายจุดให้บริการเครือข่ายไร้สาย ในโซนของผู้บริหารเพื่อให้บริการสำหรับผู้มาติดต่อกับผู้บริหาร และห้องเรียนรวมเพื่อให้บริการสำหรับอาจารย์ นักศึกษา ในการค้นหาข้อมูล
      • เขียนโปรแกรมและพัฒนาระบบการเบิกจ่ายวัสดุออนไลน์ พร้อมทั้งจัดอบรมให้กับบุคลากร
      • ปรับเปลี่ยนระบบการจัดการระบบเครือข่ายให้สามารถรองรับระบบที่ใหญ่ขึ้น รองรับการใช้งานของผู้ใช้งานที่มีมากขึ้น
      • ให้บริการพิมพ์ภาพขนาดใหญ่ เช่น โปสเตอร์สำหรับเผยแพร่ผลงานการวิจัยของคณะ งานประชุมสัมมนา และงานประชาสัมพันธ์ต่าง ๆ ของคณะวิทยาศาสตร์
      • ปรับเปลี่ยนเครื่องแม่ข่ายที่ให้บริการต่าง ๆ ให้มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น โดยการใช้ IBM xSeries Server ที่มีหน่วยประมวลผลแบบ Intel Xeon Dual Processor และเพิ่มหน่วยความจำเป็น 1 GB เพื่อให้มีประสิทธิภาพสูงสุดในการบริการข้อมูล
      • เพิ่มเติมส่วนเครื่องแม่ข่ายให้บริการ E-Learning โดยเพิ่มพื้นที่ และหน่วยประมวลผลแบบ Intel Xeon Dual Processor เพื่อให้การส่งข้อมูล E-Learning ได้มากขึ้น
      • เพิ่มระบบการสำรองข้อมูล (Backup) เพื่อป้องกันข้อมูลสูญหาย โดยข้อมูลจะถูกสำรองยัง Tape Backup, CD-ROM และ DVD ROM
      • เพิ่มความปลอดภัยโดยการจัดทำ Internet Security Gateway เพื่อกลั่นกรองไวรัส และข้อมูลที่ไม่พึงประสงค์บางส่วน ทำให้ระบบโดยรวมทำงานได้ดีขึ้น
      • ติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อเพิ่มความปลอดภัยในส่วนของสำนักงานเลขานุการคณะวิทยาศาสตร์
      • มีการจัดเตรียรมการติดตั้งระบบคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่มีประสิทธิภาพสูง เพื่อทดแทนระบบคอมพิวเตอร์เดิมที่ล้าสมัย ในรอบปีที่ผ่านมา 46 ราย

 

การประกันคุณภาพการศึกษา
ในรอบปีที่ผ่านมา คณะวิทยาศาสตร์ได้ดำเนินการตามนโยบายการประกันคุณภาพการศึกษาของคณะ ที่มีเป้าหมายให้มีการประกันคุณภาพการศึกษาอย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพ โดยมุ่งเน้นให้บุคลากรมีส่วนร่วม และเป็นวัฒนธรรมองค์กร

กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง
- การประชุมสรุปแนวทางการจัดทำรายงานการประเมินตนเอง ระดับภาควิชา/สำนักงานเลขานุการ คณะวิทยาศาสตร์
- การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “การจัดการความรู้เพื่อพัฒนาคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่”
- การประชุมคณะกรรมการตรวจเยี่ยมและประเมินฯ เพื่อซักซ้อมความเข้าใจร่วมกันก่อนการตรวจเยี่ยมและประเมินการประกันคุณภาพการศึกษาภายในคณะวิทยาศาสตร์
- ดำเนินการตรวจเยี่ยมและประเมินการประกันคุณภาพการศึกษาระดับภาควิชา/สำนักงานเลขานุการฯ ประจำปี 2549
- รับการตรวจสอบและประเมินระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาจากมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ซึ่งผลการตรวจสอบและประเมินฯ อยู่ในลำดับขั้น “ดีมาก” ได้คะแนนรวม 84.5 คะแนน
- รับการประเมินคุณภาพการศึกษาภายนอก จากสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) (สมศ.) โดยคณะวิทยาศาสตร์ ซึ่งจัดอยู่ในกลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์กายภาพ อยู่ในเกณฑ์ได้รับการรับรองมาตรฐานคุณภาพ จาก สมศ.
- การศึกษาดูงานด้านระบบการบริหาร วิธีการและขั้นตอนการทำงานในลักษณะเทียบเคียงสมรรถนะ (Benchmarking) ณ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล และคณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
- ในระดับภาควิชา/สำนักงานเลขานุการคณะฯ มีการพัฒนาระบบและกลไกการประกันคุณภาพภายในโดยมีการจัดประชุมสัมมนาเพื่อระดมความคิดเห็นและหาแนวปฏิบัติร่วมกันในภาควิชา รวมทั้งติดตามและประเมินผลการดำเนินการประกันคุณภาพภายในภาควิชา/นักงานเลขานุการคณะฯ


center" width="720" noshade color="eceb66" size="3">